การประพฤติมนต์ในสุขศาสตร์และจุลศาสตร์นะ จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 49
หน้าที่ 49 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการประพฤติมนต์ในสุขศาสตร์และจุลศาสตร์นะ ซึ่งอธิบายถึงวิธีการดำเนินชีวิตที่เป็นธรรมและไม่เป็นธรรมสำหรับผู้ถือบรรพชา, พร้อมทั้งการวิเคราะห์การประพฤติบริสุทธิ์ตามกำหนดเวลาที่เกี่ยวข้องกับพระวินัย. กล่าวถึงข้อกำหนดต่าง ๆ ที่อาจมีผลต่อการรับรู้ความบริสุทธิ์ในชีวิตประจำวันและการตั้งใจในการดำเนินชีวิตช่วยให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องต่อการประพฤติและดำรงชีวิตในฐานะที่เป็นผู้ถือบรรพชา.

หัวข้อประเด็น

- การประพฤติมนต์ตามพระวินัย
- จุลศาสตร์นะและสุขศาสตร์
- การบริสุทธิ์ในชีวิตประจำวัน
- วิธีการรับสุขศาสตร์
- การตั้งใจในความบริสุทธิ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดวงสมดำปาเข้า อรรถถฺพรวันวัณ วรธรา - หน้าที่ 457 แห่งการประพฤติมนต์ที่ไม่เป็นธรรมบ้างหน้า. สุขขัตติวรสนั่น มี 2 อย่าง คือ จุลศาสตร์นะ ๑ มห- สุขขนะ ๒ ก็สุขศาสตร์นี้ทั้ง 2 อย่าง ส่งผลพิษให้แก่กุฏิผู้ไม่รู้ และระลึไม่ใช่ ซึ่งกำหนดคราตรีทั้งสิ้นหรือบางราตรี และผู้มีความ สงสัยในกำหนดคราตรีนั้น แต่กุฏิจะรู้จำนวนที่สูงที่สุดคำว่า "เรา ต้องอาบัติเท่านี้" หรือจะก็ตาม นันไม่เป็นเหตุ ไม่เป็น ประมาณ. จุลศาสตร์นะ ในสุขศาสตร์ ๒ อย่างนั้น ภูกุได้มั้ย พระวินัยถลามอยู่ว่า "ท่านรู้สึกว่านักเป็นผู้บริสุทธิ์ ตลอดวันหรือ ปีกษ์ หรือเดือน หรือปี โน้นและโน้นหรือ" ดังนี้ ตามลำดับ ตั้งแต่ปาลมหทบา หรือทวนลำดับตั้งแต่วันทบอกไปดีใจ จึงตอบว่า "ทราบอยู่ ท่านผู้จีรัง ข้ามาเป็นผู้บริสุทธิ์คลอดคลาเพียงเท่านี้." สุขขัตรสุขที่สงฆ์ให้แก่กุฏิบุนนั้น เรียกว่า "จุลศาสตร์นะ." ภูกุผู้รับสุขศาสตร์ในร้วิธา พึงแจ้งกาลเท่าที่ตนรู้สึกว่า ตนเป็นผู้บริสุทธิ์ออกเสียง พึงอยู่ราวสตลอดเดือน หรือ 2 เดือน ที่เหลือ. [205] ถ้ากำหนดไว้ว่า "เราเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์เพียงเดือนเดียว ได้รับบริสุทธิแล้ว, กำลังอยู่บริสุทธิ์เดือนอื่นได้อีก พึงอยู่บริสุทธิ ตลอดเดือนนั้นด้วยแท้, ไม่มีกิที่จะต้องให้บริสุทธิ์. ถ้ากำหนดไว้ว่า "เราเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ 2 เดือน" ได้รับบริสุทธิ์ แล้ว, แต่กำลังอยู่บริสุทธิ ทำความตกลงใจว่า "เราเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More