วรรณกรรมเรื่องภิกษุ จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 203
หน้าที่ 203 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้กล่าวถึงการจัดการในสำนักของภิกษุ โดยกำหนดให้มีการแจกภัต, การทำวัตร และการปฏิบัติตามแนวทางของพระศาสนา อย่างไรก็ตาม ชนในสำนักคิดว่า การไปฉันที่สภาวัดใกล้จะส่งผลต่อการประพฤติของผู้ที่เข้ามาในสำนัก รวมถึงการถ่ายทอดเรื่องราวและแนวคิดเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เนื้อหานี้เปิดเผยถึงความสำคัญของการจัดระเบียบและความสัมพันธ์ในสังคมพระภิกษุ และการคำนึงถึงการทำวัตรเพื่อความสงบสุขภายใน.

หัวข้อประเด็น

-ภิกษุในสำนัก
-การจัดระเบียบ
-การทำวัตร
-การฉันในสำนัก
-ความสัมพันธ์ในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดุสมูปปะท้าก อรรถถภพระวััง อจรรวรรค วรรณา - หน้าที่ 611 ของข้าพเจ้า ตั้งแต่พรุ่งนี้ไป "ฉันนี้ ต้องแจกกันในสำนักเหมือนกัน คติภิกษุประสงค์ ไปสู่ภาคใต้, สภาทบ้านเรวในสภาท นั่น เป็นองค์ภิกษุอื่นได้แล้ว, คติภิกษุจะถืออาสภากนั่น แล้วสั่ง ภิกษุณอนว่า "ท่านจงถืออาสภากลึงแกเรา" ดังนี้ แล้วไป ก็คร. แต่อภิกษุนัน ต้องถืออาสภากของภิกษุผู้นั้นเสีย ในเมื่อเธอยังมีกิน ก้าวล่วงอุปารสมาไปที่เดียว ชนทั้งหลายอยู่ในสำนักรัง จัดตั้งสภากกันไว้ ด้วยคิดว่า คิณญ ทั้งหลาย ปรนินิบันต้นโพธิและเจดีย์เป็นต้นแล้ว จงฉันเถิด ดังนี้. ภิกษุทั้งหลายค้างอยู่ในที่แห่งภิกษุผู้ชอบพอกันแล้ว ไปแต่ช้ิมืด กระทา วัตรในสำนักรังนั้นแล้วฉันภัตนัน ควรอยู่ หาว่า เมื่อภิกษุเหล่านั้น ให้ถึงแต่ตอนเพื่อจะได้ฉันในพรุ่งนี้ แล้วพากันไป ภิกษุองค์ใดอยู่ในสำนักรัง กระทำวัตรแต่งกาเดียว ตีระมังแล้วให้สภากถึงเกณฑ์แล้วไปสู่โรงฉัน. ภิกษุองค์ใดคู่นั้นแล เป็นใหญ่แห่งกันนั้น ฝ่ายภิกษุ ใด เมื่อภิกษุทั้งหลายกำลังทำวัตรเทียว ถวายที่แผ่นดิน ๒-๓ ก็แล้ว ตีระมังแล้ว ไปด้วยทำในใจว่า "สภากัาศนี้บ้านใกล้ถึง แกเรา." สภากัศนั้น ย่อมไม่ถึงภิกษุนัน เพราะเธอถือเอาด้วยอาการ ลองชิง, ย่อมเป็นของภิกษุผู้กระทำวัตรเสร็จแล้วให้ถึงแก่กันมากภายหลัง เท่านั้น บ้านหนึ่งอยู่ใกล้นั้น, ภิกษุทั้งหลายไม่ปรารถนาจะไปเป็นวันติ. ชนทั้งหลายกล่าวว่า "พวกข้าพเจ้าเป็นผู้เห็นต่างบุญ." พึงสั่งภิกษุ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More