ปริวาสิกขันธ์ วรรณะ จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 11
หน้าที่ 11 / 270

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความหมายและความสำคัญของปาริวาสิกในพระวินัย โดยเฉพาะการอธิบายถึง ๔ ประเภทของปาริวาส ซึ่งรวมถึงการให้ปริวาสแก่บุคคลที่มีวัตถุประสงค์ในการบรรพชาและอุปสมบท เนื้อหายังชี้แจงเกี่ยวกับกฎและคำกล่าวที่เกี่ยวข้องกับปริวาสิกในบริบทของพระพุทธศาสนา และความแตกต่างระหว่างแต่ละประเภทของปริวาส เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องในธรรมวินี.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของปาริวาสิก
-ประเภทของปาริวาส
-บทบาทของภิกขุในปริวาส
-ข้อบังคับในพระวินัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดตัดสนิทปลายกาซา อรรถถกพระวินัย อุตรวรรค วรรณะ - หน้า 419 [๒๒๑] ปาริวาสิกขันธ์ วรรณะ [ว่าด้วยปาริวาสิกฉัตร] วิจัยฉันในปาริวาสิกฉัตร นี้ พึงทราบดังนี้ :- บทว่า ปาริวาสิก ได้แก่ ภิกขุผู้อยู่ปาริวาส. ในคำว่า ปาริวาสิก นั้น ปาริวาสมี ๔ อย่าง คือ อัปปจานัง- ปิฏฐิฉันนปริวาส ๑ สุทธิฉันปริวาส ๑ สมโภชปริวาส ๑. บรรดาภิวาส ๔ อย่างนั้น ติดฉันปริวาส ที่พระผู้มีพระภาค ตรัสไว้ในมหาปณิธิอย่างว่าว่า “ภิกขุหลาย บุคคลใดแม้นผู้อื่น เป็นอัฏฐีเดียรึ หวังบรรพชา หวังอุปสมบท ในธรรมวินี้; สงฆ์พึงให้ปริวาส ๔ เดือนแก่บุคคลนั้น” ดังนี้ ชื่ออัปปจานันปริวาส. คำใดที่จะพึงกล่าวในอัปปจานันปริวาสนั้น คำนันเข้าไว้กล่าวไว้ ดีแล้วแล แต่ภิกขุฉันปริวาสนั้น พระผู้พระภาคไม่ทรงประสงค์ ในปริวาสกนิยนนี้. ปาริวาส ๑ อย่างที่เหลือ สงฆ์พึงให้แก่ภิกขุผู้ ต้องอาบัติสมัยเทศแล้วและปิดไป. คำใดที่จะพึงกล่าวในปริวาส ๑ อย่างนั้น คำนันเข้าจักพรรณนาในสนุกยัณห์บัณฑุกะ ก็แต่ปริวาส ๓ อย่างนี้ พระผู้พระภาคทรงประสงค์ในปริวาสกนิยนนี้. เพราะ เหตุนี้นินั่น ภิกขุผู้อยู่ปริวาสอย่างใดอย่างหนึ่งใน ๓ ปาริวาสนี้ พึงทราบว่า "ปริวาสกนิย"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More