บทบัญญัติและการแสดงในพระศาสนา จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 44
หน้าที่ 44 / 270

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหาดังกล่าวมีการกล่าวถึงบทบัญญัติในพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการใช้ชื่อและการแสดงความเคารพในสถานที่เฉพาะ ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการดำรงฐานะภิกขุและการปฏิบัติตามวัตรอย่างเคร่งครัด การสื่อสารในสงฆ์และพิธีกรรมที่มีหลักการที่ชัดเจนตามที่ระบุในพระธรรม นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงความสำคัญของการแสดงออกถึงความเคารพและความเป็นหนึ่งเดียวในกลุ่มภิกขุ การรักษาความสงบในสถานที่ที่จัดทำพิธีกรรม เช่น โรงวัด และบทบาทของการบอกกล่าวในกลุ่มผู้ปฏิบัติเพื่อให้เกิดความเข้าใจและร่วมมือในการบำเพ็ญธรรม

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธศาสนา
-ภิกขุ
-การบำเพ็ญธรรม
-พิธีกรรมในสงฆ์
-บทบัญญัติทางศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดุดสมดำปาสิกา อรรถถกพระวันอ อุตรรว วรรณะ - หน้าที่ 452 วุดฤกโย บ้าง. ชื่อและอาบัติเป็นอันถือเอาแล้ว ด้วยคำว่า สุขามาลัยโล บ้าง ด้วยคำว่า อาบภูโบ บ้าง. และในบาทสิงห์ ที่ชื่อ ทั้งชื่อ วัดคู่และโคตร เป็นอันถือเอาแล้วแก่ ด้วยคำว่า เอก อาบดูติ อาบชู สงเคราะห์นิกิ สุกิวิสฏฐี. เหมือนอย่างว่า ในบาทสิงห์ ท่านกล่าวว่า อย่า อุภา ภิกขุ ฉันใด ภิกขุใด ๆ เป็นผู้อื่น พึงถือเอาชื่อของภิกขูนั้น ๆ ทำกรรม- วาว ว่าอย่า อิติคุณานิม ภิกขุ ฉันนั้น. ในเวลาบรรจบจากา ภิกขุนนั้นพึงสมาทานวัตรในสมาแห่งโรง ที่เดียว ตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแลว่า ปริวาส สมาทายาม วัตถุ สมาทายาม ครับสมาทานแล้ว พึงบอกในทามกลางสงฆ์ ในสมาแห่ง โรงนั้นแล้ว ก็แปล เมื่อจะบอก พึงบอกอย่างนี้ว่า :- อาหะ ภุทฺธ เอก อาบูติ อาบชู สงฺเคราะห์นิกิ สุกิวิสฏฺฐี [๒๐] เอกพะปฏิญาณํ โสภะ สุขํ เอกิสุสา อาบตูเทวา สงฺเคราะห์นิกาย สุกิวิสฏฺฐิยา เอกพุทธิจฺฉนานโย เอกพุทธิปริวาสํ ยํ อิต สุตฺส ม สงฺโฆ เอโก ภูติวา สงฺโฆ อนุญา เอากปริมูสา อนุญา เอกาวริสวา อาหิ โส ปริวาสา, เวยยามหา คุตฺต, เวทิตฺติ ม สงฺโม ธารณํ, ก็แล สมควรเท่าจะถือเอาใจความนี้ บอกด้วยภาษายออย่างได้อย่างหนึ่ง. ครั้นบอกแล้ว ถ้าประสงค์จะเก็บ พึงเก็บในทามกลางสงฆ์ ตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแล. เมื่อภิกษุทั้งหลายออกจากโรงไปเสียแล้ว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More