ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - จุดดุลสมดุลปุ๋ยทางอรพี พระวิสุทธิ์ วชิราจาร วรรณา - หน้า 513
สองบทว่า มาตูสิ วุฒามานูติ ได้แก่ ให้แต่นหวดให้ยาว.
เคราที่คั่งที่เอาไว้ยาวคั่งคาราเพะ เรียกว่า หวาดคั่งพุ่นโค.
บทว่า อุปสมฺ ได้แก่ ให้แต่มหวดเป็น ๔ มุม.
บทว่า ปริมาณ ได้แก่ ให้ทำการบวดกลุ่มแห่งขนท้อง.
บทว่า อุทมุจิ ได้แก่ เอาไว้กลุ่มขนท้อง.
สองบทว่า อาปตติ ทุกฺกุสส มีความว่า เป็นอาบัติทุกกฎ
ในที่นี้งโปงมิดฉกานอกเป็นต้น.
หลายบทว่า อาพาชุปจุยา สมุหา โโล่ มีความว่า เรา
อนุญาตให้นำขนในที่เคบอออก เพราะปัจจั้คืออาพาชีมีผลใหญ่
และแผลเล็กเป็นต้น.
หลายบทว่า อาพาชุปจุยา กตุติภกา มีความว่า เรา
อนุญาตให้ตัวผมด้วยกรไร เพราะปัจจั้คืออาพาช ค่ะแม่อา
แห่งโรคที่ศีรษะ คืแผลใหญ่และแผลเล็ก.
[๒๘๕] ไม่มีอาบัติ เพราะอณขุนอญญูกัวัตถมิโกวดเป็นต้น
ส่วนแหนน พระผู้พระภากงอนุญาตเพื่อรักษาตัว.
วิฉาชีในข้อว่า น ภวิษญา ปะตี คาถาเปตทูฟ์ นี่ พึงทราบ
ดังนี้ :-
ขนใดขึ้นที่คิ้ว หรือที่หน้าผาก หรือที่คอหนวด เป็นของ
น่าเกลียด ขนเช่นนั้นดีตาม จะหงอกดีตาม ไม่หงอกดีตาม สมควร
ถอนเสีย.