บริบทของภิญญาในพระพุทธศาสนา จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 29
หน้าที่ 29 / 270

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหาเปรียบเทียบอภิญญาทั้งหลายที่เหลือ โดยเฉพาะผู้ปฏิบัติที่มีความรู้และประพฤติตนตามกฎของพระวินัย โดยระบุเกี่ยวกับกลุ่มต่าง ๆ ของภิญญา และความแตกต่างในพฤติกรรมและวัตรของเจ้าภิญญาแต่ละประเภท ข้อเสนอในที่นี้ มุ่งหวังให้ผู้ศึกษาทราบลักษณะและคุณลักษณะเฉพาะของภิญญาต่าง ๆ ในหลาย ๆ บริบทซึ่งเกี่ยวข้องกับการฝึกปฏิบัติและการดำเนินชีวิตตามหลักธรรม.

หัวข้อประเด็น

-ภิญญาในพระพุทธศาสนา
-ความแตกต่างของภิญญา
-พระวินัยและอภิธรรม
-การปฏิบัติของภิกษุและภิญญู
-วัตรของมานัตตราภิญญู

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดถอดสมณิทปลาศาทิกา อรรถถกพระวินัย อตุวรรณ วรรณา - หน้าที่ 437 ภิญญาทั้งหลายที่เหลือ โดยที่สุด แมภิณฺูผู้อยู่ริวบวาสเป็นต้น. [๒๕๔๕] จริงอยู่ บรรทิกาญ ๕ จำพวก คือภิญญูอยู่ริวาส ๑ ผู้การกลุลาไปภิกษุน ๑ ผู้การแก่นัคค ๑ ผู้ประพฤมนาค ๑ ผู้ควรแก่พาน ๑ เหล่านี้ เว้นภิญญู้อยู่ริวาสมากของตน ๆ เสีย ที่เหลือทั้งหมด คงจัดเป็นผู้ปกติด้วย. เพราะเหตุไร? เพราะเหตุที่ภาวนาเป็นต้น พระผู้มีพระภาคทรงอนุญาต ตามลำดับ คือ ตามแคะ เพราะเหตุนี้ ข้าเจ้าจึงกล่าวว่า “ได้แก่ ภิญญั้งหลายที่เหลือ โดยที่สุด แมภิณฺูผู้อยู่ริวบวาสเป็นต้น.” ส่วน ลักษณะแห่งภิญญูผู้ควรแก่ลามปฏิญญาสเป็นต้นนั้น จักมิแจ้ง บ้างหน้า คำที่เหลือในอภิธรรม (ว่าด้วยภิญญูผู้ควรลามปฏิญญาสา นเป็นต้น) นี้ พึงกล่าวมีย่ักกล่าวแล้ว. ในวัตรของภิญญูผู้ควรแก่นามันต์เป็นต้น แม้นอกจากอธิการนี้ และในวัตร ของปริวาสภิญญูนั้นแน. วิจินฉันแม้ในคำว่า มูลาปฏิญญาสนารทดูลโต ๙ เป็นต้น พึ่งรายดังนี้ :- แมภิญูผู้ควรแก่ลายปฏิญญาสาเหล่านั้น ย่อมเป็นคณุปก ในวินิจกรมเหล่านั้นไม่ได๋ เหมือนปริวาสภิญญูนั้นแน. ใน สงฆธรรมที่เหลือ เป็นไบ่. ความเปลกกันในวัตรของมานัตตราภิญญู คือ มานัตตารีก- ภิญญู ต้องบอกทุกวัน.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More