การถวายผ้าจำพรรษาและกฐินในพระพุทธศาสนา จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 137
หน้าที่ 137 / 270

สรุปเนื้อหา

การถวายผ้าจำพรรษาเป็นสำคัญในการปฏิบัติทางศาสนา ซึ่งการถวายควรส่งเสริมด้วยศรัทธาและถูกต้องตามขั้นตอนในพระพุทธศาสนา การถวายผ้าควรมีการสื่อสารกับพระสงฆ์และชุมชน เพื่อให้การทำบุญนั้นเกิดขึ้นอย่างเหมาะสมและมีความหมาย นอกจากนี้ยังควรหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงกฐินเมื่อมีพระสงฆ์ที่เกี่ยวข้อง การให้ผ้าถวายก็ต้องทำตามหลักเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ เพื่อให้การถวายเป็นไปตามประสงค์ของผู้ถวายและพระสงฆ์

หัวข้อประเด็น

-การถวายผ้าจำพรรษา
-การถวายกฐิน
-ความสำคัญของพิธี
-การทำบุญในพระพุทธศาสนา
-แนวทางการถวายผ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดวงสมดุลปาอา ถวถพระวันอุจจุร วรรณะ - หน้า 545 ถ้าสกุลทั้งหลายในบ้านนั้น มอบถลนานอันเป็นต้นทุนไว้เฉพาะถวายผ้า นำพรพระในที่อยู่ แม้ไม่จำสกุลหลานนั้น ก็ควรให้กฐินผ้าทรงวัด อยู่ในสนามนะของสกุลหลานนั้น รับผ้าถวายมspf แต่ถ่าผู้ถือผ้าบังสกุล อยู่ในสนามนะของสกุลหลานนั้น, และเขาหันเธอมาแล้ว กล่าวว่าผมถวายผ้าจำพรรษาแก่ท่าน."' ภิกษุนันพึงบอกแก่สงฆ์. ถ้าสกุลหลานนั้น ไม่ปรารถนาจะถวายสงฆ์ กล่าวว่ "พวกผม ถวายเฉพาะแก่พวกท่าน." ภิกษุผู้ถือผ้าบังสกุลนั้น พึงสังภุผู้เป็น สภาก่อนว่า "ท่านจงทำวัตรแล้วรับเอาไป," แต่ผ้าถวายนั้น ไม่ควรแก้กฐินผ้าบังสกุล พึงถามชนทั้งหลาย ผู้ถวายด้วยศรัทธา- ไทย ด้วยประการฉะนี้ ส่วนในวิธีที่เกิดขึ้นในสำนักนะ ควรถามปิโยกถร ถามอย่างไร ? ควรถามว่า "ผู้มีอายุ ผ้าถงะสำหรับปกปิด (คือผ้า) ของสงฆ์ จักมีหรือ?" ถ้าเขาว่่าว่า "จักมีอยู่รบ ผมจัดถวายรูปละ ๕ สอค. ท่านทั้งหลาย จงให้ฉันผ้าจำพรรษาเกิด ดังนี้", พึงให้กฐินอีด เสนาสนะได้ แม้ถ้าเขากล่าวว่า "ผ้าไม่มี แต่ตัวภูมิ, ท่านจงให้ออกจาก เกิด," แม้เมื่อมีวัดดุ ก็ควรให้เรื่องนะได้แก้, เพราะว่า พระ- ผู้มีพระภาคทรงอนุญาติให้กฐินบริโภคสิ่งที่เป็นต้นปิโยหรือปัจจัย-่ง จากวัดดู ที่ทายกอบไว้ในมือก็ปิยากร สังว่า "ท่านจงใช้ของที่ควรเกิด."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More