พระวินัยและแนวทางการปฏิบัติในสงฆ์ จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 238
หน้าที่ 238 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติพระวินัย โดยเน้นถึงวิธีการที่สงฆ์ควรปฏิบัติเมื่อกลับจากโรงเลี้ยง และวิธีการเคลื่อนที่ในกรณีที่อยู่ในเรือน และการถวายภิกษา ซึ่งเน้นความสำคัญของการเคารพและไม่มองหน้าผู้ที่ถวายภิกษา นอกจากนี้ยังมีการเน้นถึงการปฏิบัติตนให้เหมาะสมเพื่อไม่ให้เกิดการชนกันระหว่างสงฆ์ในขณะที่เคลื่อนไหว โดยส่งเสริมให้ปฏิบัติตามแนวทางของพระวินัยอย่างเคร่งครัดเพื่อความสงบสุขของสงฆ์

หัวข้อประเด็น

- การปฏิบัติของสงฆ์
- พระวินัย
- นวกภ์
- ปิฏกทนกิจวัตร
- การถวายภิกษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดวงสมันด ปาสาทิกา อรรถถาค พระวินัย อุตวรรค วรรคา - หน้าที่ 646 "สงฆ์เมื่ออายุขึ้นกลับจากโรงเลี้ยง พระกลับอย่างนี้." (๔๕๐) อย่างไร? พึงเห็นคำทั้งปวงว่า นวกภ์ เป็นต้น. จริงอยู่ ในเรือนทั้งหลายที่บังแดด ไม่มีโอกาสที่พระเถระทั้งหลาย ออก; เพราะฉะนั้น พระผู้มิภาวะจึงตรัสอย่างนั้น. กี่นวกภ์ทั้งหลาย ผู้กลับอยู่ดังนั้น รออยู่ที่ประตูเรือน พึง ไปตามลำดับกันได้ ในเมื่อพระเถระทั้งหลายออกอยู่. แต่กว่าพระเถระทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีอยู่ไกล พวกนวกภ์กุฏ นั่งอยู่ภายในเรือน, พึงออกตามแถวตั้งแต่เถา สนางลามมาทีเดียว อย่า ให้กายกับกายเนียกกัน เดินเป็นแถวห่าง ๆ ให้ชนทั้งหลายอาไปใน ระหว่างได้. [ปิฏกทนกิจวัตร] วินิจฉัยในปิฏกทนกิจวัตร พึงทราบดังนี้:- ข้อว่า กมม์ วา นิฏิจฉาปนฺติตี มีความว่า ชนทั้งหลายถือสิ่งใด เป็นฝ่ายหรือกระดง หรือสาก ทำการอยู่ เป็นผู้ยืนก็ตาม นั่งก็ตาม, วางสิ่งนั้นเสีย. ข้อว่า น จ ภาณฑายกฺย มีความว่า ผู้ถวายภิกษา จะเป็น สตฺรึติฺตาม บูชิกฺถาม ในเวลาถวายภิกษา ภิกษุไม่พึงมองหน้า (เขา). [อารัญญภูฏตร] วินิจฉัยในอารัญญภูฏตร์ พึงทราบดังนี้:- สองบทว่า เสนาสนะ โอรติทวะ มีความว่า พึงออกจากที่อยู่. ในคำว่า ปฏติ ฌ วิกา ปฏิญฺญีวา นี มีความว่า ถว้า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More