การแต่งกายและเครื่องประดับในพระพุทธศาสนา จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 84
หน้าที่ 84 / 270

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการแต่งตัวและเครื่องประดับของภิกษุในพระพุทธศาสนา โดยเน้นถึงความสำคัญของการเลือกใช้วัสดุและการแต่งกายให้เหมาะสม เช่น การใช้เกลียวผ้าในการอาบน้ำ การบริหารด้วยมือ และหลีกเลี่ยงการใช้เครื่องประดับที่ไม่เหมาะสม รวมถึงบทบาทของการตัดสินใจในการเลือกเครื่องประดับแต่ละชนิดเพื่อไม่ให้เกิดความไม่เหมาะสมในบริบททางศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การแต่งกายของภิกษุ
-เครื่องประดับในพระพุทธศาสนา
-วัสดุและเทคนิคการแต่งตัว
-การปฏิบัติตามหลักธรรมในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดุลสมดุลปาสกา อรรถถาวพรวันชัย อุตวรรค วรรณะ - หน้าที่ 492 ข้อความในภาพอ่านได้ว่า: ข้อว่า วิคุทย์ ปริมาณม์ การาปฏิรูป มีความว่า ภิกษุจุฬาพิกษ์อัย เอาตัวกับตัวสีเข้ากันและกัน บังเริ่มกระดานที่ทำโดยรวบรวมอย่างกันด้วยจักเป็นฟังมังกร เรียกชื่อว่า มัลละ มังเวียนกระดานที่กิรเป็นพ้นได้ ไม่ควรแต้มเก่า ภิกษุผู้อาพร. บังเวียนกระดานที่ไม่ได้จนเป็นฟัน ชื่อออกมัลละ บังเวียน กระดานที่ไม่ได้จนเป็นฟันนี้ ไม่ควรก็เกินภูมิไม่อาพร. 134 ส่วนแผ่นอิฐ หรือแผ่นกระเบื้อง ควรอยู่. บทว่า อุกกาลิก ได้แก่ เกลียวผ้า เพราะเหตุนี้ ภิกษุรูปใด รูปหนึ่งผู้อาบน้ำ จะอุ่งหลังด้วยเกลียวผ้าสำหรับอาบ ก็ควร. การบริการด้วยมือ เรียกว่า ปฏิบาถิ์ เพราะเหตุนี้ ภิกษุ ทั้งปวงจะทำธุระกรรมหลังด้วยมือ ควรอยู่. [ว่าด้วยการแต่งตัวเป็นต้น] คำว่า วุคลิก นี้ เป็นชื่อแห่งเครื่องประดับชนิดหนึ่งว่า แก้ว มุกกันละตุ่มที่ห้อยออกจากกู. ก็แปล จะไม่ควรแต้มตุ่มอย่างดีชวนเขานั้น หามไม่ได้ เครื่องประดับอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่สุดแม้เป็นใบตาล ก็ไม่ควร. สายสร้อยชนิดใดชนิดหนึ่ง ชื่อว่า สังวาล. เครื่องประดับสำหรับแต่งที่คอ ชนิดใดชนิดหนึ่ง ชื่อว่า สร้อยอก. เครื่องประดับชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยที่สุดแม้พึงเป็นสายด้วย ชื่อว่า สายรัดเอว.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More