ข้อความต้นฉบับในหน้า
ปะโยค - อุตตมะ สาทิคา องค์พระวินัย อุตวรรค วรณา - หน้าที่ 420
สองบทว่า ปกตุตานน์ ภิกขุ(sic) ได้แก่ ภิกขุปกติที่เหลือ
โดยที่สูงมักผู้อธิษฐานฌานเป็นต้น เว้นปรารภิกขุ
ผู้ไม่กล่าวเสีย.
สองบทว่า อภิวกานน์ ปจุปปฺปธาน มีความว่า ภิกขุปกติตั
เหล่านั้น ทำความเคารพมิอภิวาเป็นต้น อันดับ ปรารภิกขุทั้งหลาย
ย่อมยินดี คือ ยอมรับความเคารพอันนั้น อธิษฐานว่า "ไม่ห้ามเสีย."
บรรดาทบท่านนั้น ทว่า สามิกุมมิ เป็นชื่อของ
อธิษฐานาวกติ มีการพัฒนให้เป็นต้น แก่กิอนึ่งซึ่งสมควร เว้น
ความเคารพมิอภิวาเป็นต้นเสีย
บทว่า อาสนภิภาร ได้แก่ การจัดอาสนะ คือ ๒๒๓ หยิบ
อาสนะไปให้ คือ ปล่อยให้นุ่นง. แม้ในการจัดที่นอน ก็นี้เป็นเหล.
บทว่า ปกโทภิ นั้น ได้แก่นำสำหรับล้างเท้า.
บทว่า ปกปีสิ นั้น ได้แก่ ตั้งสำหรับรองเท้าล้างแล้ว.
บทว่า ปากกุล นั้น ได้แก่นั่งกระดานสำหรับวางเท้า
ซึ่งยังไม่ได้ลง หรือนั่งกระดานสำหรับจับขังเท้า.
สองบทว่า อาปัตต ทุกฏุกส มีความว่า คงเป็นอาบัติทุกกฎ
แก่อภิวนุญาติ แม้ของสังกะวิริยาเป็นต้น เพราะเหตุนี้ ปรารภิกขุ-
ภิฏฐานนั้น พึงบอกนิสิตทั้งหลายสังวาริกรณ์เป็นต้นนั้นว่า "ข้าเจ้า
กำลังทำวินิยกรมของท่านเกิด ขอรับ" ดังนี้ แล้วยังคงทำวัตร ทั่ง