อรรถกถาพระวินัย อุตุวร จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 38
หน้าที่ 38 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงความสำคัญของการรับรู้และการจัดการกับอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของภิกษุ โดยมีการอธิบายถึงกรณีต่าง ๆ ที่อาจเรียกว่าอันตราย รวมถึงวิธีการปิดบังหรือไม่ยอมรับอันตรายที่อาจนำไปสู่การกระทำที่ไม่ถูกต้อง ผู้มีความสำคัญว่าตนเป็นผู้ไม่อาจรับรู้ความก็ต้องปฏิเสธความจริงเกี่ยวกับอันตรายที่มีอยู่ในสภาพแวดล้อมของตน เรียนรู้ถึงวิธีการระมัดระวังและการป้องกันในสังคมเพื่อให้เกิดการอยู่ร่วมกันอย่างปลอดภัย

หัวข้อประเด็น

- การรับรู้ความอันตราย
- การจัดการกับอันตราย
- บทบาทของภิกษุ
- ข้อบังคับและการปฏิบัติ
- ความสำคัญของการยอมรับสภาพจริง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดวงสมันต์ปลาสำหรับ อรรถกถาพระวินัย อุตุวรร วรรคา - หน้าที่ 446 ยกวัดร. ข้อว่า อนุญาตรายโฃ มีความว่า ในอันตราย ๑๐ อย่าง อันตรายแม้อย่างหนึ่ง ไม่มีเกิดขึ้นได้ ถ้าภิกษุนี้ เป็นผู้มีความ สำคัญว่า ไม่มีอันตรายแล้วปิดไว้ อบัณนั้นเป็นอันปิดเท็จ. ถ้าแมเธอเป็นผู้มีความสำคัญว่า มีอันตรายเพราะอมนุษย์และ สัตว์ร้ายในเวลาค่ำคืน เพราะเป็นผู้มีชาตแห่งคนบาดาล จึงปิดไว้ อบัณนั้นไม่เป็นอันปิดก่อน. ก็มืออักขณใดอยู่ในบริหารใกล้กูฎา ครูก็เป็นของกิณฺฑู้นั้น จะต้องข้ามซอกเขาหรือดงหรือแม่น้ำไปบอก ภัยมิสัตว์ร้ายและ อมนุษย์เป็นต้นมีในระหว่างทาง ฯลฯทั้งหลายอ่อนในทาง แม้ น้ำ เต็ม, และเมื่ออันตรายนั้นมีอยู่จริง ๆ เธอย่อมความสำคัญว่ามีอันตราย จึงปิดไว้ อบัณนั้นไม่เป็นอันปิดก่อน. อันนี้ เมื่อกิจกรรมอันตราย ปิดไว้ด้วยสำคัญว่า ไม่มีอันตราย อบัณนั้นไม่เป็นอันปิดเหมือนกัน. ข้อว่า ปฐ มีความว่า กิณฺฑูอาจเพ่อไปสำนักกิณฺฑู้น และ เพื่อจะบอกได้ ถ้าเธอเป็นผู้มีความสำคัญว่า ตนเอง แล้วอาไว้ อบัณนั้นเป็นอันปิดเทียว. ถ้ีปากของเธอเป็นฝีเล็กน้อย หรือ ลม เสียคง คงฟันปวด หรือได้กินน้อย ก็แไม่ ดด้เหตเพียง เท่านั้น จะต้องไม่อาจบอก ไม่อาจไป หาไม่ได้ ก็แต่ว่าเธอเป็น ผู้มีความสำคัญว่า "เราไม่อาจ" กิณฺฑู เป็นผู้ออกจาก แต่เอาว่าผู้ม ความสำคัญว่า ตนไม่อาจ อาบัติมักกณุนี้ปิดไว้ จงว่าไม่เป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More