บทวินัยในการแต่งกายของภิกษุ จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 109
หน้าที่ 109 / 270

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงหลักการแต่งกายของภิกษุที่ไม่ควรหม่นหรือติดโทษตามพระวินัย มีการยกตัวอย่างถึงการใช้ผ้าต่างๆในบริบทของการแต่งกาย ทั้งของผู้หญิงและผู้ชาย รวมถึงการทำกิจกรรมต่างๆ เช่น เคลื่อนที่ในวัดหรือภายในบ้าน การไม่หม่นในที่สาธารณะและวัดเป็นหลักสำคัญเพื่อรักษามาตรฐานทางศาสนา. หากมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ก็อาจจะถูกลงโทษตามพระวินัย. ทั้งยังได้มีการพูดถึงความสำคัญของมารยาทในการแต่งกายซึ่งเป็นหัวข้อที่ใช้ในการสอนและรับฟัง.

หัวข้อประเด็น

-การแต่งกายของภิกษุ
-หลักของพระวินัย
-มารยาทในสังคม
-ตัวอย่างการใช้ผ้าต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดวดสมบัดปาสากิรา อรรถวถวพระวินัย อุตรรวรร วรรค - หน้าที่ 517 ผู้จัดแถว การหม่นนี้ทั้งหมด มองว่ามองคงคำสตฺ เพราะเหตุนี้ นิกนรณ์ทั้งปวง ผู้ใช้ผ้าขาว คุลภาครึ่งเดียว ยอมหม่น ฉันใด อันนี้ ปริมาณบางพวก เปิดออกผ้าหนังปูนบน จะออกบ้าง ๒ ฉันใด อันนี้ คณะทั้งกลุ่มที่ใช้ผ้าผืนเดียว เอาชาย ผ่านนั่งข้าง คุลมหลัง พาดมุ้งทั้ง ๒ บนจะออกบ้าง ๒ ฉันใด, อันนี้ พวกนักเลงสุราเป็นต้น เอาผ้าพันคอ ห้อยชายทั้ง ๒ ลงไปที่ ท้องบ้าง ตัวไว้บนหลังบ้าง ฉันใด อันนี้ สตรีสาววังเป็นต้น หมู่คุมศิริจะเปิดแต่นหน่วยไว้ ฉันใด อันนี้ คุณพัดดีเป็นใหญ่ ทั้งหลาย นุ่งผ้าขาวคุลตัวทั้งหมดด้วยชายข้าง ๑ แห่งชายผืนมันเอง ฉันใด อันนี้ พวกชาวนา เมื่ออาเข้าสู่กระท่อม นมผ้าถวัดเข้าไป ในช่อกรีนแล้วคุมตัวด้วยชายข้าง ๑ แห่งผ้าสันมันเอง ฉันใด อันนี้ พวกชาวนเอง ฉันใด อันนี้ พวกทามณี สอดผ้เข้าไปในขอกรักแล้วก็ร้อน จะออกบ้าง ๒ ฉันใด อันนี้ ภิกษุผู้ออกจากา เปิดแขนซ้ายที่หม ด้วยผ้าหนเวียงบ่า ยกจีวรขึ้นพาดบ่าออกบ้าง ฉันใดฯ ภิกษุฯ ไม่พึงหม่นฉันเลยทีเดียว พึงวันโทษแห่งการหม่นเหล่านี้ทั้งหมด และโทษแห่งการหม่นเห็นปานนั้นเหล่านี้อันเดียว (๓๑) หามให้เรียบร้อย ปราศจากวิกา. เมื่อภิกษุไม่หม่นอย่างนั้น กระทำวิกาอย่างใดอย่างหนึ่ง ด้วย ไม่เอื้อเฟื้อ ในวัดก็ตาม ในละแวกบ้านก็ตาม ย่อมเป็นทุกกฎ ว่าแล้วหวาบเป็นฉัน บทว่า มุถาทวฺภูมิ มีอธิบายว่า เหมือนคนหาบของสำหรับ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More