การออกแบบเรือนและอุปกรณ์สำหรับใช้ในน้ำ จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 98
หน้าที่ 98 / 270

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการออกแบบเรือนและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมในน้ำ เช่น การทำหม้อและอุปกรณ์ต่างๆ สำหรับการจัดการน้ำ และการสร้างซุ้มประตูที่เหมาะสมในการใช้งาน รวมถึงคำอธิบายถึงฟังก์ชันการใช้งานต่างๆ และวัสดุที่เหมาะสมในการสร้างสรรค์สิ่งเหล่านี้ โดยอิงจากการใช้งานจริงและหลักการที่ควรพิจารณา เช่น การจัดการน้ำและควันจากไฟในเรือน

หัวข้อประเด็น

-การออกแบบเรือน
-อุปกรณ์ที่ใช้ในน้ำ
-การจัดการน้ำและควัน
-ฟังก์ชันของอุปกรณ์ต่างๆ
-วัสดุในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดุดสนิทปลาสักกา อรรถถาวพระวันจับ อูจรร วรรณา - หน้าที่ 506 พันจากน้ำ ตรงกลางหย่อนลง แล้วเอาหม้อก้น้ำ. เรือนที่ทำด้วยจิว เรียกว่า มุ่งกันยูง. [ว่าด้วยของกรมและเรือนไฟ] บทว่า อิสสนุนกายา คือ ผู้กายมักหมวดส่งอันเป็นโทษ มีสมะเป็นต้น. เสลสำหรับใส่สิ่ง ขนาดเท่ากับบานประตูพอดี เรียกชื่อว่า อัคควัฎฐี เสลสำหรับใส่สิ่งนั้น เป็นสิ่งที่ขาเจาะรู้ว่า ๓-๔ รู้แล้ว ใส่สิ่ง. ห่วงสำหรับใส่คาน ที่เขาเจาะบานประตูแล้วครึ่งคีดที่บ้านประตู นั้น เรียกชื่อว่า สลักเพชร. ลิ่มที่ทำช่องที่ตรงกลางสลักเพชรแล้ว สอดไว้ ชื่อสุดิกา. ถอดที่เขาดัดไว้ข้างบนสลักเพชร สียุฏิกา. สองบัตรว่า มณฑุกลิก กาตู มีความว่า เราอนุญาตให้ออกพื้น ให้ศ่า. ปล่องควันนั่น ได้แก่ ช่องสำหรับควันไฟออก. บทว่า วาสุติ มีความว่า เราอนุญาตให้บด้วยของหวาน ทั้งหลาย. อุทกนิธานั่น ได้แก่ ที่สำหรับบังน้ำ, ภูเขพึ่งใช้หม้อกันขัง ไว้ในนั่นแล้ว เอาขันน้ำใช้. ซุ้มบ้า ได้แก่ ซุ้มประตู. วิจฉัยในคำว่า ดิสรู ปลูกอาทิตย์นี้ พึ่งทราบดังนี้.- เครื่องปกปิด คือ เรือนไฟ ๑ เครื่องปกปิด คือ น้ำ ๑ ควร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More