พระวินัย อรรถถถพระวินัย จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 2
หน้าที่ 2 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการปฏิบัติภายในพระวินัยโดยเฉพาะเรื่องอุปสมบทและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางศาสนา กรณีอาบัติและตำแหน่งในวัดโดยอธิบายความหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวโยงกับการดำเนินชีวิตของภิกษุ รวมถึงกฎเกณฑ์และวินัยที่ต้องปฏิบัติตามซึ่งสำคัญต่อการรักษาความเรียบร้อยและศีลธรรมในวงการสงฆ์ และท่านไม่ควรยืนยันความไม่พึงกระทำบางอย่างที่สำคัญในบริบทนี้. ข้อมูลที่เกี่ยวข้องสามารถดูเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติพระวินัย
-อาบัติและความหมาย
-การอุปสมบท
-บทบาทของภิกษุในวัด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- จุดดุบนต์ปลายปากกาสักกะ อรรถถถพระวินัย อุตรรว วรรค วรรณะ - หน้าที่ 410 บรรด tipped เหล่านี้ ๕ บาท ใน ๑ tipped ทรงผสมที่ละบวก ๆ กับ ๒ บทนี้ คือ อธมเมน ก ค วุฒ ก ค ตรัสเป็น ๕ tipped. รวมทั้งหมดยังเป็น ๑๒ tipped ด้วยประการฉะนี้. ๑๒ tipped แล้ว ตรัสไว้แม่ในลูกปักษ์ ด้วยอำนาจแห่งฝ่ายเป็น ข้าศึกกัน. สองบทว่า อนุโลมิกิ คิคิสสะคคิ มีความว่า ด้วยการลูกลิกับกุศล มีความเป็นผู้หย่อมสราโศกกับเขาเป็นดัง ซึ่งไม่สมควรถิรกบรรพชิด. ข้อว่า น อุปสมบททุติพ เป็นต้น มีความว่า เป็นอุปชวนย์อยู่แล้ว ไม่พึงให้ลูบครอปสมบา, ไม่พึงให้ส่ายแก่กิฤบูอาคุณดุค, ไม่พึงรับสมณเณรี. สองบทว่า อณุญา วา ตาทลิกา ได้แก่ อาบัติที่เสมอกัน. บทว่า ปาปฏุชรรา ได้แก่ อาบัติที่หนักกว่า. (๒๒๑) กรรมนัน ได้แก่ ตัชชนิยกรรม. การอภิวัฏฺเหล่าได้มาแล้ว ภิกษุเหล่านี้ชื่อว่า ผู้กำกรรม. ข้อว่า น สาวนิย กตทุพฺพี มีความว่า ตนอภิวัฏฺได้โจทย์ แล้วอย่างนี้ว่า "ข้าเจ้าจะฟ้องท่านเป็นเจ้าในดนิี" และท่านอย่าก่าวออกจากอาวาสนี้แม้ว่าดเดียว ตลอดเวลาที่อธิริณนี้ยังระงับไม่เสร็จแล้ว ภิกษุผู้นั้นอัตตนไม่พึงทำให้เป็นผู้ให้การ. บทว่า น อนุโรโท มีความว่า ไม่พึงรับตำแหน่งหัวหน้าในวัด.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More