การถือเสนานะในพระวินัย จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 141
หน้าที่ 141 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายถึงการถือเสนานะและความสัมพันธ์ระหว่างพระมหาสมัฏท์กับภิญญูผู้เสนานะ โดยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการตัดสินใจที่ถูกต้องในเสนานะและผลกระทบที่มีต่อการถือปัจจัยและการทำบุญในอาวาส รวมถึงบทบาทของถ้อยคำในสถานการณ์ต่างๆ ในการเผยแผ่ธรรม และการฟื้นฟูความเข้าใจในการถือเสนานะแบบถูกต้อง สุดท้ายมุ่งเน้นให้เห็นความสำคัญในการรักษาความตั้งมั่นในเสนานะเพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาทางจิตใจและการดำรงชีวิตในพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-เสนานะ
-พระวินัย
-พระมหาสมัฏท์
-ภิญญูผู้เสนานะ
-การถือปัจจัย
-ความสำคัญของถ้อยคำ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดูลสมดุลปาเสาทิกา อรรถกถาพระวินาย องครวร วรฺรา - หน้าที่ 549 พระมหาสมัฏท์ว่า "แต่ผ่า เมื่อภิญญูผู้เสนาน- ถามปะกล่าวว่า "ท่านผู้เจริญ เสนานะอันท่านคือเอาแล้วหรือ? พระมหาเถระกล่าวว่า "เราอถือเอา" หรือเมื่อภิญญูผู้เสนาน- ถามปะกล่าวว่า "ท่านผู้เจริญ ท่านจักถือเอาหรือ?" พระมหาเถระ ตอบว่า "เราจักถือเอา" ดังนี้ เสนานะฉนไม่เป็นอันถีอือ. ฝ่ายพระมหาเถระปุมัติเอว่า "ถ้อยคําเป็นอัตดลและอนาคต [๓๒] หรือถ้อยคํเปนปัจจุบันกสมทิ อันที่จริง ถ้อยคำเพียงทำ ให้ได้ดี เพียงเป็นเครื่องทำลายเท่านั้น เป็นประมาณในการถือ เสนานะนี้ เพราะเทุ่นั้น เสนานะเป็นอันพระมหาเถระเอาแล้ว แท้." ฝ่ายภิญญูผู้ถือขังสุดใจ ถือเสนานะและแล้วสละปัจฉัยเสีย. แม้ปัจฉัยก็ภิญญูนั้นลละแล้วนี ไม่มีโอนใปในอาวาสอัน ; พึงไว้นใน อาวาสนั้นแล จะให้กุอธิษฐานถึงอยู่ที่โรงเพลิง หรือที่ศาลาาย หรือ ที่กนบไมในบริเวณนั้นแล ถือเอาก็ครวร. ภิญญูผู้ถือขังสุดใจ "จะอยู่" แล้วจึงบำรุงเสนานะ. ภิญญูนอกนี้รับว่า "ถกถือเอาปัจจัย" แล้วจึงบำรุงเสนานะ. เสนานะจึงเป็นอันได้รับบำรุงเป็นอันังคดึง ด้วยเหตุ ๒ ประการ ด้วย ประการณะนี้. แต่ในมหาปัจฉิเรียกว่า "เมื่อภิญญูผู้ถือขังสุด๓ รับเสนานะ เพื่อประโยชน์แก่การอยู่ภิญญูผู้สนานกาหาปะว่า "ใน เสนานะนี้มีปัจจัยนระอรบ์ ปีจึงนั้นสมควรทำอย่างไร ?ภิญญูผู้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More