ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - จุดสมดุลปลาสากา อรรถถกพระวินัย อุจวรรรรค วรรณะ - หน้า ที่ 498
ก็กล่าวว่าคุณสั่งทำกับข้าวใส่ในภาชนะมีขนาดเป็นต้น
น้อมเข้าไปถวายในโรงครัว ไม่ควรแม้เพื่อจะถูกต้อง
องค์ภาชนะหลาย มีเป็นดัง ที่ทำด้วยแก้วผลิ ทำ
ด้วยกระจกและทำด้วยสำริดเป็นต้น ย่อมไม่ควร แต่มิใช่เป็นของ
ส่วนตัวเท่านั้น ใช่เป็นของสงฆ์ หรือเป็นคิววิติค(คือ เป็นของ
คุณสัก) ควรอยู่
บาตร แม่เป็นการแห่งทองแดง ก็ไม่ควร ส่วนภาชนะควร
คำทั้งปวงที่ว่ามี ๆ ท่านกล่าวไว้ในกุมารที
ส่วนบาตรที่แล้วด้วยมีบ่าวแม่อันเป็นต้น พระผู้พระภาค
ตรัสในบทว่า มณีโมย นี้
[๒๗๓] บาตรแม่ว่านแล้วด้วยทองขาว ท่านรวมเข้าในบทว่า
กิมโย นี้
กล่าวว่า "เพื่อคืน" นี้ พระผู้พระภาคตรัสเพื่อประโยชน์แก่การ
ทำให้บาง
บังเถียนปกติว่า ได้แก่ บังเถียนที่จักเป็นในมนตร
บทว่า อาวกุตตวา ได้แก่ กระทบกันและกัน
วินิจฉัยในคำว่า ปฏุตตร ก นี้ พึงรางดังนี้ :- ในกฐินก็กล่าวว่า บนเชิงมาตรที่เนื่องกับพื้น นี้ ซึ่งทำด้วยแกวาดวัลย์
และหวายเป็นต้น ควรลาวช้อน ๆ กันได้ ๓ บาตร บนเชิงไม้ ควร
วางช้อนกันได้ ๒ บาตร
ส่วนในมหาวรรถกถากล่าวว่า บนเชิงมาตรที่เนื่องกับพื้น ไม่