การตั้งเตียงและลักษณะของวัสดุ จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 116
หน้าที่ 116 / 270

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการตั้งเตียงและลักษณะของวัสดุที่ใช้ในการผลิตเตียง ได้แก่ เตียงหวาย, เตียงที่ตั้งสี่เหลี่ยมครุฑ และคำอธิบายเกี่ยวกับประเภทต่าง ๆ ของเตียง เช่น สัตตะคะ และภาทปิยะ รวมถึงความหมายของรายได้ที่ใช้ในการผลิตอุปกรณ์เหล่านี้.

หัวข้อประเด็น

-การตั้งเตียง
-ประเภทเตียง
-วัสดุที่ใช้ในการผลิตเตียง
-คำอธิบายเกี่ยวกับเตียง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดอกไม้บนปากา อรรถถาพระวันอุปวรร วรรณา - หน้าที่ 524 ที่ชื่อว่าหน้าต่างๆ ได้แก่ หน้าต่างที่จ่างง่าย ที่ชื่อว่าหน้าถ่างซี่ ได้แก่ หน้าต่างลูกกรง ในคำว่า อุกกลีกี่ นี้ มีความว่า เราอนุญาตให้ผ้าผันเล็ก ๆ คล้ายผ้าชีดท่า คำว่า วัตปานภิลีกี่ มีความว่า เราอนุญาตให้ทำเสื้อ ได้ ขนาดหน้าต่างผูกไว้ [ว่าด้วยเตียงและตั้ง] บทว่า มิติ ได้แก่ กระดาษตั้ง บทว่า วิภลมญฺญ ได้แก่ เตียงหวาย หรือเตียงที่สนามด้วย ดอกไม้ไฟ ตั้ง 4 เหลี่ยมครุฑ เรียกว่า อาสนิกะ จริงอยู่ ตั้งฉ่ายด้านเดียวเท่านั้น มีก้า ๆ นี้ จึงควร ส่วน ตั้ง 4 เหลี่ยมครุฑ พึงทราบว่า "แม่เกณฑ์ประมาณกี่ควร" เพราะ พระบาลว่า "เราอนุญาตั้ง 4 เหลี่ยมครุฑแม่สูง [๒๕๕] เตียงที่ทำพนักพิง 3 ด้าน ชื่อสัตตะคะ. แม้สัตตะคะนี้ ถึงเกินประมาณ ก็ควร. ตั้งที่ทำเสร็จด้วยหวายล้วน เรียกว่า ภาทปิยะ เฉพาะตั้งที่ขึ้นด้วยผ้าเก่า เรียกว่า ปีจุก. ตั้งที่คิดว่าบนแขนไม้ ทำคล้ายใส่รุกขา เรียกชื่อว่า ตั้ง บทราย. ตั้งมีเท้ามาก ประกอบไว้ด้วยอาการดังผมจะขามป้อม ชื่อว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More