การนุ่งหม่มและการถักสายสังวาลในพระวินัย จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 107
หน้าที่ 107 / 270

สรุปเนื้อหา

ในพระวินัยมีการกำหนดการนุ่งหม่มและการถักสายสังวาลสำหรับภิกษุ โดยเฉพาะการเผยแพร่แนวจัดการนุ่งที่ถูกต้องและเหมาะสมซึ่งเกี่ยวข้องกับการรักษากฎและวินัยในพระพุทธศาสนา ในเอกสารนี้ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับแบบการนุ่งหม่มที่แตกต่างกันและการถักสายสังวาล รวมถึงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับจำนวนชายและการใช้วัสดุที่เหมาะสมสำหรับทั้งภิกษุและผู้ติดตาม โดยมีตัวอย่างและคำอธิบายชัดเจนเกี่ยวกับสัญฐานและวิธีการต่าง ๆ ที่ถูกนำเสนอในช่วงเวลาที่ผ่านมา

หัวข้อประเด็น

-การนุ่งหม่ม
-การถักสายสังวาล
-พระวินัย
-ภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดวงสังสนิทภาคิฟาร อรรถถถภะพระวินัย อุบวรรค วรรคา - หน้าที่ 515 คำว่า "ภิกษุทั้งหมด" เรอนอนุญาตการถักด้วยให้คลม การ ถักดังสายสังวาล นี้ทรงอนุญาตเฉพาะที่ชายทั้ง ๒ ที่ในชายกาล และชายดังสายสังวาล ชายดังสายสังวาล เกิน ๔ ชาย ไม่ควร. การบำบัดแล้วเขียนอบปาก ช่อ โภภิต. การเขียนโดยสัญฐานด้วงแหว้น ช่อ คุณภิ. [๒๕4] จริงอยู่ ชายประคดีเขียนอย่างนั้น ย่อมเป็นของแน่น. ร่วมในห่วง เรียกว่า ปวนุนโต. [ว่าด้วยการนุ่งหม่ม] ผ้าป่งที่ทำชายพกมีสัญฐานด้วงช้าง ให้หย่อนใดตั้งแต่แสสะคือ เหมือนการนุ่งของสตรีชาวโฬารประเทศ ชื่อว่านุ่งเป็นวงช้าง. ผ่านผู่ที่หย่อปลายไว้บ้าง ๑ ห้อยชายพกไว้บ้าง ๑ ชื่อว่านุ่งเป็น ทางปลาย. นุ่งปล่อยชายเป็น ๔ มุมอย่างนี้ คือ บ้างบน ๒ มุม บ้างล่าง ๒ มุม ชื่อว่านุ่งเป็น ๔ มุม. นุ่งหย่อคลลงไป โดยทางด้านก้านตาล ชื่อว่านุ่งด้านก้านตาล. ผ้ผืนยาวให้บกลืนเป็นชั้น ๆ นุ่งโจงกระเบนก็ได้ นุ่งยกคลืนเป็น ลอน ๆ ที่บ้างซ้ายและบ้างขวาก็ดี ชื่อว่ายกคลื่นตั้งร้อย. แต่กล่าวว่า ปรากฏเป็นกลืนเดียวหรือ ๒ กลืนตั้งแต่บ้างขึ้นไป ย่อมควร. สองเท่า สังวิสิฐ นิวาสสนุติ มีความว่า ถิกขุวังพิพิธน์ นุ่งหยรี้ง ดังนักมวยและกรรมกรเป็นต้น การนุ่งหยังกั้น ย่อม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More