การใช้งานภาชนะในศาสนา จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 159
หน้าที่ 159 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการใช้งานภาชนะและเครื่องใช้ในพระพุทธศาสนา เช่น กำหนดการรักษาภาชนะที่ใช้โดยสงฆ์ และชนิดของโลหะและของใช้ที่ถูกต้องไม่ควรใช้งานส่วนตัว จำพวกอุปกรณ์สีโลหะที่ไม่ควรเก็บไว้ใช้ส่วนตัวแต่ใช้สำหรับสงฆ์เท่านั้น เช่น กาหยาบ, กล่องยานัตถ์, และภาชนะโลหะอื่นๆ หลีกเลี่ยงการใช้ภาชนะทองคำและเงินสำหรับใช้งานส่วนตัว

หัวข้อประเด็น

-การใช้งานภาชนะในศาสนา
-ข้อกำหนดเกี่ยวกับภาชนะสงฆ์
-ประเภทของโลหะที่ใช้
-การรักษาภาชนะในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดุลสมดุลปาลัย อรรถถาคพระวันอุตถวรรค วรณะ - หน้า 567 ในหมากปัจจิรว์่า "ภาชนะสำเร็จเป็นต้น ที่แบ่งถ้วยสงฆ์ จะ รักษาไว้เอาไม่ควร, พึงใช้เฉยโดยท่านองค์วิหวิตเท่านั้น." [๒๔๕] ส่วนในโลหะที่เป็นกับปะมะอั้น ยกวันภาชนะกาววาวเสีย กล่องยาย ไม้ปายยาด ไม้ควักกุ เข็ม เหล็กซาว มีดน้อย เหล็ก- หมาด กุญแจ ลูกดอก ห่วงไม้เท้า กล่องยานัตถ์ ส่วน โลหะ รางโลหะ แผ่นโลหะ แนวโลหะ ลูกอโลหะ สิ่งของโลหะที่ทำฉางไว้แม้อย่างอื่น เป็นของควรแกล้งกันได้. ส่วนกองยาสูบ ภาชนะโลหะ โคลนเต็ม โคมตั้ง โคมแววน รูปสี่ลักษณ์ รูปปรุ งู และรูปลักษณ์ต่างๆ หรือสิ่งของโลหะเหล่าอื่น พิถีไว้มาหราฝนาหรือหลังคา หรือตุ่นเป็นต้น ส่งของโลหะ ทั้งปวง โดยที่สุดจบกระทั่งตุ๋ย ย่อมเป็นครุภัณฑ์เหมือนกัน แต่น เองได้มา ก็ไม่ควรเก็บไว้ใช้ของเครื่องใช้ส่วนบุคคล ควรใช้เอง เครื่องใชของสงฆ์ หรือใช้เป็นคิววิกิต. แมในสิ่งของดีญูก ก็มีนับเหมือนกัน. จานและขั้นเป็นต้นที่ทำ ด้วยหัวอ่อน เป็นครุภัณฑ์เหมือนกัน ส่วนหน้อหรือภาชนะน้ำมันที่ใหญ่ เกินกว่าข่านบานหนึ่งขึ้นไปเท่านั้น เป็นครุภัณฑ์. ภาชนะทองคำ เงิน นาค และแก้วพลิกล และเป็นคิววิกิต ก็ไม่ ควร, ไม่จำต้องกล่าวถึงใช้ของเครื่องใชของสงฆ์ หรือของใช้ ส่วนตัวบุคคล. แต่ด้วยเครื่องใช้สำหรับเสนานะ ส่งของทุกอย่างที่ ควรจับต้อง ทั้งที่ไม่ควรจับต้อง จะใช้ของอีกคร.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More