การถือเสนาสนะในศาสนา จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 150
หน้าที่ 150 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาวิจัยนี้กล่าวถึงความสำคัญของการถือเสนาสนะในศาสนา โดยเฉพาะการเตือนภิกษุเกี่ยวกับการมีอยู่ในวัด และการย้ายวัดเมื่อเข้าพรรษา บทนี้อธิบายถึงการถือเสนาสนะที่ถูกต้องในกรุงสาวัตถี รวมถึงการพิจารณาเรื่องการถืออาลัยหลังจากการเปลี่ยนสถานที่ โดยยกตัวอย่างภิกษุที่ต้องทำการเปลี่ยนวัดและวิธีการถือเสนาสนะในแต่ละสถานที่ให้ถูกต้อง นิยามและวิเคราะห์ถึงความหมายที่ลึกซึ้งในพุทธศาสนา สุดท้ายหวังว่าผู้อ่านจะได้เรียนรู้ถึงวิธีการจัดการและความสำคัญของการมีเสนาสนะในสถานที่ต่างๆ.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของเสนาสนะ
-การถือเสนาสนะในวัด
-การเชื่อมโยงกับการย้ายวัด
-การพิจารณาต่อการถืออาลัย
-การศึกษาภิกษุในศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดลสมเด็จปาสนิกา อรรถถกพระวันวิ อุตรรว วรรณา - หน้าที 558 [ว่าด้วยการถือเสนาสนะระวัง] วิจัยฉบับในเรื่องพระอุปนัทนะ ในคำว่า ตกตา ตาย โมมปุริส คติ, อิฐ มุกิคิ, อิฐ คติ, ตุตร มุกิคิ, นี้ พังพระดับนี้:- เสนาสนะได้ในกรุงสาวัตถีนี้นะ อันเธอถือเอาแล้ว เสนาสนะนั้น ย่อมเป็นอันเธอผู้ถืออยู่นั้นแล สะเสียแล้วในความกวาดนี้. อันนี้ เมื่อเธอกล่าวว่าจะ "ผู้มีอายุ บัดนี้ เราสะเสนาสนะ ในคมนกาวาสนี้" ดังนี้ เสนาสนะนั้น เป็นอันเธอสะแล้วมันในคมนกาวาสนั้น ด้วยประกอบอย่างนี้ เธอเป็นคนภายนอกในอาวาสทั้ง 2. ส่วนวิจัยฉบับในคำนั้น พังพระดับดังนี้:- การถือย่อมเป็นเพราะการถืออ. อาลัยย่อมเป็นเพราะการถือ อ. การถือย่อมเป็น because อาลัย ย่อมเป็นเพราะอาลัย. อย่างไร? ภิกษุยงรูปในศาสนานี้ ถือเสนาสนะในวัดหนึ่งแล้ว ไปสู่วัดใกล้เคียง ถือเสนาสนะในวัดนั้นอีก ในวันเข้าพรรษา, การ ถือครั้งแรกของก็ยังนั่น ย่อมจะรับเพราะการถืออีก (ครั้งหลัง) นี้. ภิกษุยงรูปหนึ่งจะทำเพื่ออธิว่า "เราจะอยู่วัดนี้แล้ว" ไปสู่วัดใกล้เคียง ถือเสนาสนะในวัดนั้นอีก. อาเลี่ยมีกอนของภิกษุนน ย่อมจะรับเพราะการถือนี้. รูปหนึ่งถือเสนาสนะหรือทำอาลัยว่า "เราจักอยู่ในนี้" แล้ว ไปสู่วัดใกล้เคียง ถือเสนาสนะในวัดนั้น [๑๒๗] หรือทำอาลัยว่า "บัดนี้ เราจักอยู่ในนี้แน" ด้วยประกอบอย่างนี้ การถือของเธอ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More