การอาบัติและการปิดอาบัติในพระพุทธศาสนา จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 36
หน้าที่ 36 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงความสำคัญของการปิดอาบัติในประเพณีพระพุทธศาสนา โดยระบุว่าการปิดอาบัติจะต้องมีความเข้าใจในการเป็นผู้ปกติตนและการรู้ว่าเป็นอาบัติ ซึ่งมีอาการต่างๆ ที่ทำให้ความอาบัติถือเป็นอาบัติอย่างแท้จริง เมื่อภิกษุมีความสำคัญต่อการอาบัติ ดังนี้อาจจะกล่าวถึงความเปลี่ยนแปลงและหัวข้อหลักๆ ในการปิดอาบัติว่าเป็นยังไงภายใต้หลักการของพระพุทธศาสนา และบทบาทของภิกษุในกระบวนการนี้

หัวข้อประเด็น

-อาบัติ
-การปิดอาบัติ
-การให้โอวาท
-พื้นฐานของพระพุทธศาสนา
-บทบาทของภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดถวายปาละก้า อรรถถก พระวัน องคร พระวร วรรนา - หน้า4 44 คือ ปฏิจฉานปริวาส ๑ สุทธิองค์ปริวาส ๑ สโมธนปริวาส ๑ [๒๕๔๕] ใน ๑ องค์นั้น ปฏิจฉานปริวาส ควรให้โอวาทิ ตามที่ปิดไว้ก่อน จริงอยู่ อาบัติของภิกษุบางรูปปิดไว้วันเดียว เหมือนอาบัตินี้ ของพระอุทยิเระ ของบางรูปปิด ๒ วันเป็นต้น เหมือนอาบัติของ พระอุทยิเระนั่นเอง ซึ่งมาแล้วบ้างหน้า ของบางรูปมีตัวเดียว เหมือนอาบัตินี้ ของบางรูปปิด ๒- ตัวหรือยิ่งกว่านั้น เหมือนที่มา แล้วบ้างหน้า เพราะเหตุนี้ เมื่อลงจะให้ปฏิจฉานปริวาส ควร ทราบความที่อัตถิเป็นอันปิดเป็นที่แรกก่อน [ว่าด้วยอาการปิดอาบัติ] ก็เลย ขั้นเป็นอาบัติขึ้น ยอมเป็นอาบิดด้วยอาการ ๑๐ อย่าง หัวข้อในการปิดอาบัติขึ้นดังนี้:- เป็นอาบัติ และรู้ว่าเป็นอาบัติ เป็นผู้ปกติ และรู้ว่าเป็นผู้ ปกติตน เป็นผู้ไม่มีอันตราย และรู้ว่าเป็นไม่มีอันตราย เป็นผู้ อาอยู่ และรู้ว่าเป็นผู้อาอยู่ เป็นผู้ใคร่จะปิด และปิดไว้ ในหัวข้อเหล่านี้ สองข้อว่า "เป็นอาบัติและรู้ว่าเป็นอาบัติ" มิฉะนั้น วิญญูต้องอาบัติใด จัดว่าเป็นอาบัตินั้นแท้ และแม้เธอ ก็มีความสำคัญในอาบัตินี้ว่าเป็นอาบัติเหมือนกัน เมื่อภิกษุอยู่ อย่างนี้ และปิดไว้ เป็นอันปิด แต่ถ้าภิกษุมีความสำคัญในอาบัติฐานว่า เป็นอาบัติ ไม่นอาบปิด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More