การศึกษาเกี่ยวกับอาบิติและวินัยในพระพุทธศาสนา จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 229
หน้าที่ 229 / 270

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการแบ่งประเภทอาบิติในพระพุทธศาสนา รวมถึงการติดตามวินัยต่างๆ ที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติของภิกขุ โดยเฉพาะเรื่องที่มีความสำคัญในการแสดงธรรมให้ถูกต้องและเหมาะสมกับกาลเวลา ข้อความที่อธิบายเกี่ยวกับการแยกประเภทและความหมายของอาบิติ พร้อมทั้งการทำงานหรือการกระทำร่วมกันระหว่างภิกขุในสังฆาธิการ ทำให้มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งในบทบาทและภารกิจของภิกขุในพระพุทธศาสนา รับรู้ถึงปัญหาและอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นในชุมชนภิกขุและวิธีการแก้ไข โดยเน้นที่ความสำคัญของการมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในหมู่ภิกขุเพื่อให้การดำเนินการอยู่ในแนวทางที่ถูกต้องมากที่สุด. โดยเฉพาะการรับรู้และการแสดงความแตกต่างระหว่างอาบิติแต่ละประเภทที่ส่งผลต่อการปฏิบัติในชีวิตประจำวัน.

หัวข้อประเด็น

-ประเภทของอาบิติ
-พระวินัย
-การกระทำร่วมกันของภิกขุ
-ความสำคัญของการแสดงธรรม
-การแบ่งชิงบริษั

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดตลอดนับปาลากา อรรถถ์พระวินัย อุตรวรรค วรรคา - หน้าที่ 637 ไดอิจิ " ชื่ออาบิติ อาบิตี ๕ กอง ชื่ออาบิติมา อาบิตี ๒ กองชื่อว่าวาบิตหนิก อาบิตี ๖ กอง ชื่อว่าวามีส่วนเหลือ กอง อาบิตีปราจักกองเดียว ชื่อว่าวาบิตไม่มีส่วนเหลือ อาบิตี ๒ กอง ชื่อว่าวาบิตตัวหยาบ อาบิตี ๕ กอง ชื่อว่าวาบิตไม่มีชั่วหยาบ กสิในธรรมและธรรมเป็นต้น ที่กล่าวแล้วโดยวินัยปรโยชน์ ภิกขุ ผู้อาศัยซึ่งธรรมมีประกาศกล่าวแล้วว่า "นี้ไม่ใช่ธรรม" โดยนัย ก่อนนั้นเ จะว่าแสดงธรรมว่า "ไม่ใช่ธรรม." [๔๕๔] เมื่อกล่าวอยู่ซึ่งข้อที่มีใช้บอกว่า "นี้เป็นวินัย" ชื่อว่า แสดงข้อที่มีไว้วินัยว่า "วินัย" ฯ ฯ เมื่อกล่าวอยู่ซึ่งวาบิตไม่ชั่วหยาบ ว่า "นี้เป็นอาบิติชัวหยาบ" ชื่อว่าแสดงอาบิติไม่ชั่วหยาบว่า "อาบิติ ชัวหยาบ." ครั้งแสดงธรรมว่า "เป็นธรรม" ฯ ฯ ๆ หรือครั้งแสดงอาบิติ ไม่ชั่วหยาบว่า "อาบิติชัวหยาบ" อย่างนั้นแล้ว ได้พวกแล้วกระทำ สังฆรรม ๔ อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นแนว ในสมาบัติเข้ากัน สงฆ์ ชื่อว่าเป็นอัตถกะเหล่านั้นทำลายแล้ว ด้วยเหตุนี้ พระผู้มาพักจิรตร์ว่า "ภิฏูกู้หลายเหล่านั้น ย่อมแตกไปเพราะเหตุภารวิกฤติ ๑๘ ประการนี้" เป็นอันติ. บรรดาแก่เหล่านั้น ท่านว่า อปกุสุนิติ มีความว่า ย่อมแย่ง คือ ย่อมแบ่งชิงบริษั ได้แก่ย่อมดับบริษัทให้ลูกไปนั่ง ณ ส่วนบ้างหนึ่ง ทว่า อปกุสุนิติ มีความว่า ย่อมอยู่เองอย่างยิ่ง คือ ภิกษุทั้งหลาย จะเป็นผู้ไม่ปรองดองกันโดยประกาศใจ ย่อมกระทำโดยประกาศนั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More