ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - จุดดุลสมดุลปา สากิยาก อรรถกถาพระวินาย ฉ ฎุวรร วรรณา - หน้าที่ 482
บทว่า อนุผลุปนาท คือการแสดงเหตุแห่งคำตัน เพิ่มกำลัง ด้วยคำหลัง.
ในส่วนบทว่า กิจฉา กรณิยา นี้ มีวิจารณ์ว่ากรรมที่ จะแพงกระทำเอง ซื่อว่า กิจจายะ ความมีแห่งกรรมที่จะพึงกระทำ ซื่อว่า กรณิยตา .. คำทั้ง 2 นั้นเป็นชื่อแห่งสังขารมันเอง.
ส่วนว่า อปโลกมุ่ง เป็นต้น พระผู้นำพระภาคตรัส เพื่อ แสดงประเภทแห่งสังขรรมนั้นแล.
บรรดาสังขรรมนั้น กรรมที่ต้องยังสงฆ์ผู้ตั้งอยู่ในสมุทให้ หมดดด นั่นนทะของภิญฉะร้าจฉทะมา สวดประกาศ 3 ครั้งทำตาม
อนุมัติองสังหับพร้อมเพรียง ชื่อว่า อปโลกกรรม.
กรรมที่ต้องทำด้วยญัตติอย่างเดียว ตามอนุมัติองสังผู้พร้อมเพรียง ตามนี้กล่าวแล้วนั่นแล ชื่อว่า อฏติกรรม.
กรรมที่ต้องทำด้วยอนุสาทนา มีญัตติเป็นที่ 2 อย่างนี้ คือตุฏติ 1 อนุสาทนา 1 ตามอนุมัติของสงฆ์พร้อมเพรียง โดยนัยที่กล่าวแล้ว นั่นแล ชื่อว่า ฌฏิติฤทธิกรรม.
กรรมที่ต้องทำด้วยอนุสาทนา 3 มีญัตติเป็นที่ 4 อย่างนี้คือ ฌฏิติ 1 อนุสาทนา 3 ตามอนุมัติของสงฆ์พร้อมเพรียง โดยนัยที่กล่าวแล้วนั่นแล ชื่อว่า ฌฏติฤทธุกรรม.
บรรดากรรมเหล่านั้น อปโลกกรรม พึงทำเพียงอโลน่. ไม่ ต้องทำด้วยอำนาจฤทธิมเป็นต้น. ๒๒ แม่ฌฏีกรรม พึงทำ