ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - จุดดสมันดปาสากะ อรรถกถาพระวันจูอจรรา - หน้าที่ 526
แต่ฉันมาถึงฟูกแล้ว นุ่นนั้น แม้ทุกชนิด ท่านกล่าวว่า "เป็น
นุ่นที่ไม่ควร." และจะควรในการทำเผนเฉพาะนุ่นนั้นอย่างเดียว
หามได้ แม้ชนแห่งทุกชนิด มีงูและกุ่งเป็นต้น และแห่ง
สัตว์ ๕ เท่าทุกชนิด มีสีเทาเป็นต้น ก็ควร.
แต่ดอกไม้ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีดอกประดับและดอกพิกุล
เป็นต้น ไม่ควร. [๒๕๖] เฉพาะใบเตร่สร้างล้วน ๆ ที่เดียว ไม่
ควร, แต่ไป ควรอยู่ แต่มุ่นคือชนสัตว์เป็นต้น ๕ อย่าง ที่รง
อนุญาตสำหรับฟุก ก็ควรในการทำหมอน.
[ว่าด้วยหมอน]
ในกรณีกล่าวว่า "บทว่า อทุตฺตวาอภิฺกนิ" มีความว่า ชน
ทั้งหลายยอมทอดกายตั้งแต่นั้นจนถึงสิริระฆะบนหมอนเหล่าใด หมอน
เหล่านั้น ชื่ออำมิประมาณถึงกาย. หมอนที่ฉวดว่า ได้บนดักบศิระ
คือ ด้านกว้าง เมื่อวัดในระหว่างมุมทั้ง ๒ เว้นมุมหนึ่งเสียในบรรดา
๓ มุม ได้เพียง ๑ กับ ๔ นิ้ว ตรงกลางได้คำมาหนึ่ง ส่วนด้านยาว
ยาวคอดคับ หรือ ๒ ซอก."
นี่เป็นคำกานดอย่างสูงแห่งหมอนซึ่งได้บนดักบศิระ. กว้างเกิน
กว่ากำหนดนี้ขึ้นไป ไม่ควร. ตำลาม ควร.
หมอน ๒ ชนิด คือ หมอนหนุนศิระ และหมอนหนุนเท้า
ควรแก่กุงผู้ไม่อาพารักษ์. กุงเทพอุฬาวจะวางหมอนหลายใบแล้ว
ปุกเครื่องลากข้างบนแล้วนอน ก็ควร.
อันนี้ พระปุสสเทเกะกล่าวว่า "นุ่นที่เป็นก้นปิยะ ๕ อย่าง