ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - จุดุดสมณเพสัฏฏกาม อรรถกถาพระวันติ องฺครวรรค วรรณา - หน้าที่ 643
แล้ว.
ข้อว่า อุตุimi ปญฺญิจ มีความว่า เมื่อพระสังฆระนั่งแล้วเพื่อ
ต้องการจะอนุโมทนาภิกฺษุ ๔ รูปพึงนั่งตามลำดับข้างท้าย เมื่่อพระ-
อนุเคราะห์นั่งแล้ว พระมหาเถระพึงนั่ง และภิกษุ ๓ รูปพึงนั่งข้างท้าย.
เมื่อภิกษุรูปที่ ๕ นั่งแล้ว ภิกษุ ๔ รูปพึงนั่งข้างบน ๔๘ เมื่อ
ภิกษุหนุ่มข้างท้าย อนพระสังฆระนั่งแม่ชีชมแล้ว ภิกษุ ๕ รูปพึงนั่ง
ตั้งแต่พระสังฆระลงมาเท่านั้น.
ก็ว่าดิ ภิกฺษูอุญโมนากกว่า "ไปเกิด ท่านผู้เจริญ ไม่มี
กิที่จะต้องคอย" ดังนี้ ควรไป. เมื่อพระมหาเถระกล่าวว่า "ผู้มีอายุ
พวกเราจะไปลา" เธอกล่าวว่า "นิมิตไปเกิด," แม่อย่างนี้ ก็การไป.
พระมหาเถระแบ่งความผูกไว้ว่า "พวกเราจักคอกอยู่นอกบ้าน"
ดังนี้ ไปจึงออกบ้านแล้ว แม้จะสังสิลของตนว่า "เธอทั้งหลาย
จงคอความมาของภิกษุนั้น" ดังนี้ แล้วไปเสีย ควรเหมือนกัน.
แต่ถ้าชาวบ้านให้ภิกษุปิง ซึ่งตนพอใจ ทำการอำนโมทนา
หาเป็นอาบัติแก่ภิกษุนันั้น ผู้อื่นโมทนาน้อย ใหม่ ไม่มีบาปแก่พระ
มาธรนะ.
จริงอยู่ เพราะในอุปนิสบนา ก็ต้องเรียนพระเถระก่อนในเมื่อ
ชนทั้งหลายขอให้กล่าว ส่วนภิกษุที่พระมหาเถระเชิญเผออโมทนา
แทน ภิกษุหลายต้องคอย. นี้เป็นลักษณะในเรื่องอุปโมทนานี้.
บทว่า องฺครูโต มีความว่า พระเถระคิดวิเคราะห์อธิบายว่า
ผู้อื่นอาจจะบิบบันแล้ว.