พระมัญปฏิทินกถาเปล ภาค ๓ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 4
หน้าที่ 4 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้พูดถึงการรู้แจ้งและการเลือกธรรมที่ดี ซึ่งมีความสำคัญในการเข้าถึงการปฏิบัติในธรรม. แสดงให้เห็นว่าการเลือกธรรมที่ถูกต้องนั้นเปรียบเสมือนการเลือกดอกไม้ที่สวยงาม. การรู้จักบรรธรรมเพื่อให้เข้าใจถึงโลกต่าง ๆ รวมถึงยมโลกและมุสสาโลก, และวิธีการที่พระเสะคัดเลือกธรรมเพื่อการเจริญเติบโตในทางธรรม. มีการกล่าวถึงโพธิปกิยธรรม และส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น สติปฎิญญา, สัมปปธาน, อินธิบาย, พลอ, โพชงค์ และมรรคมอ่ง.

หัวข้อประเด็น

-การเลือกธรรม
-การรู้แจ้ง
-โลกและยมโลก
-โพธิปกิยธรรม
-ขั้นตอนในการเข้าถึงธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปรโโยค๒ - พระมัญปฏิทินกถาเปล ภาค ๓ - หน้าที่ ๒ "ใคร จักรู้ซึ่งธัญมดิเนียนนี้และโยมโลกกับมุสสา-โลกนี้ พร้อมทั้งทวนโลก, ใคร จักเลือกบรรธรรม อันเรามาแสดงดีแล้ว เหมือนนายมาภาระผูดลาด เลือกดอกไม้ นะนั้น. พระเสะจักรู้ซึ่งธัญมดิเนียน และยมโลกกับมุสสาโลกนี้พร้อมทั้งทวนโลก. พระ เสะจะจักเลือกบทรธรรมอันรวดเดวดีแล้ว เหมือน นายมาภาระผูดเลือกดอกไม้นั้น." [[แก่อรรถ]] บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า โก อิม ความว่า ใคร (จัก รู้ชัด) ซึ่งเม่นดิเนีี้กล่าวว่าคือภาพ. บทว่า วิชุตติ ความว่า รู้แจ้ง คือเทพตลอด ได้แก้ ทำให้แจ้ง ด้วยญาณของตน. บทว่า ยมโลกญาณ ได้แก้ อบายโลก ๕ อย่างด้วย. สองบทว่า อิม สตาวาที ความว่า ใคร จักรู้ชัด คือจักทราบชัด ได้แก้ เทวดาตลอด ทำให้แจ้ง ซึ่งมุสสาโลกนี้กับเทวโลก ด้วย พระศาสดาวอรมตร์สมนกังนี้. บทพระคาถาว่า โก ธรรมปิฏก สุเจติ ความว่า ใคร จักเลือก คือคือ ได้แก้ พิจารณาเห็น เทงตลอด ทำให้แจ้ง ซึ่งบรรธรรม กล่าวคือโพธิปกิยธรรม ๑๓ ประการ ที่ชื่อว่าอันเรามาแสดงดีแล้ว ๑. คือ สติปฎิญญา ๕ สัมปปธาน ๕ อินธิบาย ๕ พลอ ๕ โพชงค์ ๓ มรรคมอ่ง ๔.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More