ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - พระธรรมปิฏกฤๅบติพจน์ ภาค ๑ - หน้าที่ 167
แล้วแล้ว พบคนเดินสวนทางมา ถามว่า "บ้านข้างหน้าไกลเท่าไร ?"
เมื่อเขาบอกว่า "โยชน์หนึ่ง," ไปได้อีกหน่อย ก็ถามคนแม่
อีก, ก็ถามแมคนั้นนั่นบอกว่า "โยชน์หนึ่ง," ไปได้อีกหนึง
อีก ก็ถามแมคนั่นอีก, แมเขาก็ว่า ว่า "โยชน์หนึ่ง," คน
เหลา่นั้น ถูกคนเดินทางนั้นถามว่า "โยชน์หนึ่ง," เขาคิดว่า "โยชน์นี้" ไกลจริงหนอ" ย่อมสำคัญโยชน์หนึ่งเป็นราว
กับว่า ๒-๓ โยชน์
บทว่า พาลน เป็นต้น ความว่า ส่วนสงสารของชนพลทั้งหลาย
ผู้ไม่รู่ประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า คือผู้ไม่อาจเพื่อ
กระทำที่สุดแห่งสงสารวัฏ, ผู้ไม่รู้แจ้งธรรม อันต่างด้วยธรรม มี
โพธิปักษิธรร ๓๗ เป็นต้น ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายรู้แล้วกระทำที่สุด
แห่งสงสารได้ ย่อมชื่อว่าเจาะ. แท้จริง สงสารนั้น ชื่อว่า ว่า ตาม
ธรรมาคงตนเอง สมจริงดังพุทธพจน์ที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า
"ภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้มีที่สุดอันใด ๆ ไปตามไม่รู่แล้ว, เมื่องต้น
เบื้องปลาย (แห่งสงสารนั้น) ย่อมไม่ปรากฏ" แต่สำหรับชนพล
ทั้งหลาย ผู้ไม่สามารถจะทำที่สุดได้ ย่อมวาทเท่าที่เดียว.
ในกาลจบเทศกนู บูรณนั้น บรรลุโลภัตติผลแล้ว, ชนแม้
เหลาอื่นเป็นอันมาก ก็บรรลุจริงผลทั้งหลาย มีโลภัตติผลเป็นต้น,
เท่านามมีประโยชน์แก่มหาชนแล้ว ดังนี้แล,
พระราชายังงามพระศตาคตแล้ว กำลังสดับไป รับส่งให้