พระอัมพ์ทัศจรoke: ประโยคและการเลี้ยงดูในวัยเด็ก พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 224
หน้าที่ 224 / 288

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการเลี้ยงดูและการตัดสินใจของพ่อแม่ที่มีต่อเด็ก โดยเฉพาะในกรณีที่เด็กไม่ต้องการความสุขจากอาหารและการใช้ชีวิตในสังคม พ่อแม่มักจะคิดว่าเด็กไม่เหมาะสมสำหรับบางสิ่ง แต่เด็กกลับมีความต้องการเฉพาะตัว ไม่มีความปรารถนาต่ออุรโภคภัณฑ์ นอกจากนี้ยังเสนอแง่มุมของอาชีวะที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของเด็ก เช่น การละทิ้งข้อผูกพันของศาสนาและการใช้ชีวิตอย่างอิสระ แม้ในสถานการณ์ที่ไม่ลงตัว เด็กยังคงมีความชัดเจนในความต้องการของตัวเองอย่างชัดเจน.

หัวข้อประเด็น

-การเลี้ยงดูเด็ก
-ความต้องการของเด็ก
-ผลกระทบจากการเลี้ยงดู
-อาชีวะและพฤติกรรมเด็ก
-ชีวิตอย่างอิสระ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอัมพ์ทัศจรoke แปล ภาค ๑ - หน้าที่ 222 บนที่นอนที่เดียว ไม่ปรารถนาเพื่ออุรโภคภัณฑ์, เคยกินแต่สรีระ วิลัยะของท่านเท่านั้น มารดาบิดา เลี้ยงการกินไว้ ด้วยสำคัญว่า "เด็กไม่รู้เพราะยังอ่อน จึงทำ " แต่ในเวลาเป็นผู้ใหญ่ เขา ไม่ปรารถนาเพื่ออุรโภคภัณฑ์ เป็นผู้ปล่อยภายเที่ยวไป, นอนบน แผ่นดิน, เคยกินแต่สรีระธัญญะของท่านเท่านั้น. ลำดับนั้น มารดา และบิดาของเขา คิดว่า "เด็กนี้ไม่สมควรแก่เรือนแห่งสกุล; เด็กนี้ สมควรแก่พวกอาชีวา" ดังนี้แล้ว จึงนำไปสำนักของอาชีวทหล่า นั้น ได้บอกให้ว่า "ขอท่านทั้งหลายของเด็กนี้ให้ Recognized." ลำดับ นั้น อาชีวาหล่านั้น ยังเขาให้บวมแล้ว, ก็แคล้วรื่นให้บวมแล้ว พวกอาชีวนั้น ตั้งไว้ในลุมประมาณเพียงคอ วางไม่เรียบร้อยบน จะคว้าทั้ง ๒ นั่งบนไม่เรียบร้อยนั้น ถอดผ้าด้วยท่อนแขนแปรง ตลก ดังนั้น มารดาเบียดของเขา เชิญอาชีวทหล่านั้น เพื่อฉัน ในวันพรุ่งนี้แล้ว หลักไป. วันรุ่งขึ้น พวกอาชีวม กล่าวเขาว่า "ท่านจงมา, พวกเราจัดเข้าไปสู่บ้าน." เขากล่าวว่า "ขอเชิญพวก ท่านไปเถิด, ข้าพเจ้าอุอยู่ในที่นี้แล้ว" ดังนี้แล้ว ก็ไม่ปรารถนา ครั้ง นั้น อาชีวทังหลาย ได้ละเขาฝ่ายแล้วลำลาคำเล่า ๆ เล่า ๆ ซึ่งไม่ปรารถนา อยู่ ไปแล้ว ฝ่ายเขาราบความที่อาชีวเหล่านี้ไปแล้ว เปิดประตู วังจูดี ลงไปกินดูกันให้เป็นคำด้วยมือทั้ง ๒. พวกอาชีว ส่งอาหารไปจากภายในบ้านเพื่อเขา. เขาไม่ปรารถนาเมื่ออาหารนั้น, แม้ถูกพวกอาชีวกลัวอยู่บ่อย ๆ ก็กล่าวว่า "ข้าวเจ้าไม่ต้องการ อาหารนี้, อาหารอันข้าพเจ้าได้แล้ว." พวกอาชีวถามว่า "ท่านได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More