พระอัมปทัศจุฬาแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 111 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 113
หน้าที่ 113 / 288

สรุปเนื้อหา

ในหน้าที่ 111 ของพระอัมปทัศจุฬาแปล ภาค ๑ กล่าวถึงเรื่องราวของนางวิสาขาและคำถามที่ภิญูถามเกี่ยวกับกรรมที่ทำให้เธอกลายเป็นยอดอุปัฏฐากของพระศาสดา พระองค์ทรงอธิบายถึงความสำคัญของการตั้งเจตนารมณ์ที่ดีและการกระทำที่ส่งเสริมจิตใจให้มั่นคง การประเมินค่านิสัยของการทำกรรมในชีวิตชนบท เมื่อหญิงสาวสงสัยว่าอุบาสิกาโตนั้นทำกรรมใดจึงได้สนิทสนมกับพระพุทธเจ้าได้เช่นนี้.

หัวข้อประเด็น

-ความสัมพันธ์ระหว่างพระศาสดากับอุบาสิกา
-การตั้งเจตนารมณ์และกรรมดี
-ประวัตินางวิสาขา
-บทเรียนจากชีวิตของผู้สนับสนุนพระศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- พระอัมปทัศจุฬาแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 111 คำพูดทั้งหลาย." เมื่อภิญูเหล่านั้น กราบลูบลงว่า "จักฟัง พระเจ้าข้า," จึงทรงนำอดีตนิทานมา (ตรงคัดต่อไปนี้):- [บรรทัดประวัติของนางวิสาขา] ภิญูทั้งหมด ในที่สุดแสนกับแสนปี พระพุทธเจ้า พระนามว่า ปฐมุตตระ ทรงอุบัตินั้นแล้วในโลก. พระองค์ได้พระ ชนมหายแสนปี, มีภิญูชินาสแสนหนึ่งเป็นบริวาร, นครชื่อหงส์วดี, พระชนกเป็นพระราชา นามว่า สุนันทะ, พระนินเป็นพระเทวี นามว่า สุนันทะ, พระชนเป็นพระเทวี นามว่า สุขาดา. อุบาสิกิเป็นยอดอุปัฏฐากของพระศาสดาองค์นั้น ทูลขอพร ๘ ประการแล้ว ตั้งอยู่บนฐานดังมาæฯา บำรุงพระศาสดาด้วยปัจจัย ๔ ย่อมไปสึงที่บูรณงามิและเช้า. หญิงสาวหาคนหนึ่งของอุบาสิกานั้น ย่อมไปบริหารกับอุบาสกนั่นเป็นนิสัย. หญิงนั้น เห็นอุบาสิกานั้น พูดกับพระศาสดาด้วยความคุ้มคา และเห็นความเป็นผู้สนิทสนมกับพระศาสดา คิดว่า "เธอทำกรรมอะไรหนอแกร จึงเป็นผู้สนิทสนมกับพระพุทธเจ้าอย่างนี้?" ดังนั้นแล้ว จึงถามพระศาสดาว่า "พระเจ้าข้า หญิงนี้ เป็นอะไรพระองค์ ?" พระศาสดา. เป็นยอดแห่งหญิงผู้สู้ปฏิทาน. หญิง. พระเจ้าข้า นางกระทำกรรมอะไร จึงเป็นยอดแห่งหญิง ผู้อุปัฏฐากา ? พระศาสดา. เธอตั้งความปรารถนาไว้ตลอดแสนก็ไม่. หญิง. มัดนี้ หมอฉันปรารถนาแล้วอาจจะได้ไหม พระเจ้าข้า?
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More