พระปิ่นปักภูษา ภาค ๑ - ลักษณะคนตระหนี่ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 271
หน้าที่ 271 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงลักษณะของคนที่ตระหนี่และความตระหนี่ที่มีต่อการให้และรับ จนกระทั่งมีการเปรียบเทียบกับชายผ้าทั้งสอง การช่วยเหลือและการรักในสิ่งที่นำเสนอผ่านตัวอย่างในชีวิตประจำวันที่เกี่ยวข้องกับประชาชนและสามณรง. ข้อมูลดังกล่าวช่วยให้เข้าใจจิตใจของผู้คนในสังคมและแสดงให้เห็นถึงการตอบสนองต่อการกระทำที่แตกต่าง.

หัวข้อประเด็น

-ลักษณะของคนตระหนี่
-การให้และรับ
-การเปรียบเทียบในสังคม
-ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน
-การช่วยเหลือในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- พระปิ่นปักภูษา ภาค ๑ - หน้า ที่ 269 [ลักษณะคนตระหนี่] จริงอยู่ พวกคนตระหนี่ผู้เป็นอันพาล เมื่อชาลหาอื่นให้ทาน อย่างนี้ก็จะหนีแล้วยินคิดในหนา เหมือนกากขามลักษณ์เห็น อสัทธา แล้ว ตระหนี่อยู่เนืองๆ ชาวร้านตลาด คิดว่า "มูลนี้มี้ โดยธรรมดาของตน กล่าวว่า "ท่านจงซ่อมผ้ากับผลงของท่าน เสีย," แม้เราก็ได้คำว่า "ถ้าสามารถนั่น ถือเอาสิ่งที่เขาให้ ถ้า เราปรารถนา เราก็ให้ของ ๆ เรา, หากไม่ปรารถนา เราก็จะ ไม่ได้; ก็เมือเราไม่ให้ของที่สามณรงเห็นแล้ว ความเมะอายอ้อมเกิด ขึ้น, เมื่อเราซ่อนของ ๆ ตนไว้ ย่อมไม่มีโทษ; บรรดาผ้ากับพล ๕๐๐ นี้ ผ้ากับพล ๒ ผืนมีราคาตั้งแสน; การซ่อมผ้า ๒ ผืนนี้ควร" ดังนี้แล้ว ถึงผ้ากับพลทั้ง ๒ ผืน ทำให้เป็นชายด้วยชายางซ่อน ไว้ในระหว่างผ้ากับพลนั้น ฝ่ายสามณรงจึงระเทนพร้อมด้วย ภิญฑพันหนึ่ง. เพราะเห็นสามณรงเท่านั้น ความรับเพียงดังบุตรก็ เกิดขึ้นแก่ชาวร้านตลาด. สริระทั้งสิ้นได้เต็มเปี่ยมแล้วด้วยความรัก. เขาคิดว่า "ผ้ากับพลพึ่งหลายของเรา, เราเห็นสามณรงนี้แล้วจะ ให้เมื่อตือคือทัย คือล." ชาวร้านตลาดนั้นนำผ้ากับพลทั้ง ๒ ผืน นออกมาวางไว้แทนของสามณรง ไหว้แล้วได้คำว่า "ท่าน เจ้าขา ผมพิธีมีส่วนแห่งธรรมที่ท่านเห็นแล้ว." สามณรงแม้นนั้น ได้ทำอุปมานแก่เขาว่า "จงสำเร็จอย่างนั้นเถิด" สามณรงได้ผ้า กอมพล ๕๐๐ ผืนแม้ในภายในพระนคร. ในวันเดียวเท่านั้น ได้ผ้ากมพล ๑๐๐. ๑. เอาชายผ้า ๒ ผืนผูกติดกัน.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More