การสนทนาระหว่างพระอธิการและชำพุทธ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 231
หน้าที่ 231 / 288

สรุปเนื้อหา

การสนทนาระหว่างพระอธิการและชำพุทธนี้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการบำรุงและความเป็นพรหม ที่พระศาสดาได้ไตร่ตรองถึงความสำคัญของผู้ที่มีจิตใจดี มีความจริงจังในการบำเพ็ญกุศล แม้พวกเขาจะมีสถานะที่แตกต่างกัน ในส่วนของความรับผิดชอบและการกระทำที่ผ่านมา การกล่าวถึงกรรมที่ได้ทำในอดีตยังเป็นส่วนสำคัญที่ชี้ให้เห็นถึงผลที่ส่งต่อชีวิตในอนาคต จากการสนทนานี้แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจและการตระหนักถึงการอุทิศตนเพื่อศาสนาและการสร้างสรรค์ทางจิตใจ

หัวข้อประเด็น

-การสนทนาระหว่างพระอธิการและชำพุทธ
-ความหมายของพรหมในศาสนา
-การบำรุงจิตใจในประเพณีพุทธ
-กรรมและผลของการกระทำ
-การให้ความสำคัญกับการสร้างประสบการณ์ในชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- พระอธิการ: พระธรรมปฏิรูปแปล ภาค ๑ หน้า 229 มหาพรหม อาศัยใจใด ผู้นั้นแหละ เป็นหัวมหาพรหม ชำพุทธ: ก็นั่นเป็นผู้ยอดเยี่ยมแม้ว่าหามาพรหมหรือ ? พระศาสดา. เออ ชำพุทธ, เราเองเป็นพรหมยัง แม้ว่าพรหม ชำพุทธ: มหาสมะนะ ท่านเป็นผู้อธิษฐานะ, ก็เมื่อเราอยู่ในนี้ สิ้น ๕๕ ปี บรรลเทดาเหล่านั้น แม้งคนี้ก็ไม่เคยมำเพื่อบำรุง เรา; ก็เราเป็นผู้มีสมเป็นภิกฺขา ยืนอย่างเดียว ให้กลานานประมาณ เท่านี้ล่วงไปแล้ว, เทวดาเหล่านั้น ไม่เคยมาสูที่บำรุงของเราเลย ลำดับนั้น พระศาสดา ตรัสทะชมพุทธนั่นว่า "ชมพุทธ- เธอ ลองมหาชนนผู้อื่นธิในโลก ยังปรารถนาจะลองแม้ซึ่งเรา; เธอ เคียวกินคุณเท่านั้น, นอบนะแผ่นดินอย่างเดียว, เป็นผู้เปลี่ยเที่ยว ไป, ถืกการถอดผ้าด้วยท่อนเปรตสาย ๕๕ ปี มีใช่หรือ ? ก็เมื่อเป็น เช่นนั้น เธอลงโลก กล่าวว่า เราเป็นผู้สมเป็นภิกขา, ยืนด้วย เท่านั้นเอง, ไม่มั้งไม่นอน ; ยังเป็นผู้ปรารถนาจะลองแม้ชิเราช แม้นานก่อน เธออาศัยฤทธิอันชำชา ๆ เป็นผู้มีคุณเป็นภิกษา สิ้นกาลประมาณเท่านี้ เป็นผู้อ่อนเหนือแผ่นดิน. เปลืองอยเที่ยว ไป ถึงการถอดผ้าด้วยท่อนเปรต, แม้บันนี้เธอจึงถิ่นอิฐู อันชั่วช้ามากเหมือนเดิม."' ชำพุทธ: มหาสมะนะ ก็เราทำกรรมอะไรไว้ ลำดับนั้น พระศาสดา ตรัสสบอกกรรมที่เขาทำแล้วในก่อน แก้ชำพุทธนั้น. เมื่อพระศาสดา ตรัสอุ้นนั่นแหละ ความสงสัฉิ จึงแก่เขาแล้ว, หรือโอดเตัปปรากฏแล้ว เขานั่งกระโหย่งแล้ว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More