พระฉิมปฏิรูปฉบับแปล ภาค ๑ หน้า ๑๑ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 13
หน้าที่ 13 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงความสำคัญของบารมีในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในตัวของอัครสาวกที่มีอภิญญาและบำเพ็ญบุญเป็นสำคัญ อธิบายถึงบารมี 10 ประการ และการรักษาความเลื่อนไหลของระลอก เพื่อให้เข้าใจอำนาจแห่งเหตุ.

หัวข้อประเด็น

- บารมีในพระพุทธศาสนา
- อัครสาวกไทย
- การปฏิบัติธรรมของพระอานนท์
- ปัจจัยแห่งความสำเร็จในชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระฉิมปฏิรูปฉบับแปล ภาค ๑ หน้า ๑๑ [คนมียุยอมน้ำหนักในเหตุ] ธรรมดาผู้มีบุญทั่งหลาย ย่อมเป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งเหตุ จึงรับมาความเลื่อนไปแห่งระลอกทั้งหลายไว้ได้ ก็สาขาของพระตลากง แม้ทั้งหมดที่ถึงฐานนคร ตั้งต้นแต่นชน้ง ๔ เหล่านี้ คือ อัครสาวก ๒ รูป คือ พระสาริญบุตรเณร พระมหาโมคคลานเณร, อัครสาวก ๒ รูป คือ นางเขมา นางอุบลวรรณา, บรรดาอุบาสกทั่งหลาย อุบาสิกาผู้เป็นอัครสาวก ๒ คน คือ มารดาของนมัทนาพ ชื่ออุปัฏฐกะนาถา, นางสุชฎา, (ล้วน) มีบุญมาก สมบูรณ์ด้วยอภิญญา เพราะความเป็นผู้บำเพ็ญบุญมามี ๑๐ โดยอภิกขิต [พระราชาเสด็จไปทราบบุญสมดล] แม้พระอานนท์เณร มีบารมีอ่อนบ่ำเพียรแล้วตั้งแสนกับ สมบูรณ์ ด้วยอภิญญา มีอุปัฏฐกะม เมื่อจะรักษาความเลื่อนไสของระลอก จึงได้ ยืนอยู่ เพราะความที่ตนเป็นไปในอำนาจแห่งเหตุ, พวกชนนบ ินิมนต์ท่านรูปเดียวเท่านั้นให้ลงแล้วอังคาส. พระราชาสด่มในเวลาที่พวกกิฬไปแล้ว ทอดพระเนตรเห็นนั่นยะและโภคียะตั้งอยู่ อย่างนันแล จึงรำถามว่า "พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายมีมากหรือ ? " ๑. บารมี ๑๐ คือ ทานบารมี ศีลบารมี เนกขัมบารมี ปิยาบารมี วิริยะบารมี จตันบารมี สัจจะบารมี อภิญญาบารมี เมตตาบารมี อุปบาทบารมี.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More