ประโยค๒ - พระพุทธปฏิรูปฉบับแปล ภาค ๑ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 161
หน้าที่ 161 / 288

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้มีการกล่าวถึงการจับสัตว์ต่างๆ เช่น ช้าง ม้า โค และอื่นๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวม และการที่พระราชาทรงเห็นว่าสัตว์เหล่านี้คือทรัพย์สมบัติและควรคุ้มครองร่วมกัน นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงสัตว์ที่ถูกเชื่อมโยงกับการทำงาน ทาส และความสำคัญของการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

หัวข้อประเด็น

- พระพุทธศาสนา
- การปฏิรูป
- ประเพณีการจับสัตว์
- ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสัตว์
- ทรัพย์สมบัติในพระราชา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ - พระพุทธปฏิรูปฉบับแปล ภาค ๑ - หน้า 159 ปุโรหิตนี้ เมือจะให้จับปากชาตินิดหน่อย ๆ ให้ได้ชิด ละ ๑๐๐ อย่างนี้ คือ ช้าง ๑๐๐ ม้า ๑๐๐ โคอูสะ ๑๐๐ เม็ด แพะ ๑๐๐ และ ๑๐๐ ไก่ ๑๐๐ สุกร ๑๐๐ เด็กชาย ๑๐๐ เด็กหญิง ๑๐๐ จึงคิดว่า "ถ้าเราจัดให้จีเอแต่ว่าเนื้อเท่านั้น, ชนทั้งหลายก็จะแ พูดว่า "ปุโรหิต ให้จับเอาแต่สัตว์ที่เป็นของกิน สำหรับตนเท่านั้น;" เพราะเหตุนี้ จิงให้จับทั้งพวา ช้าง ม้า และมนุษย์ (ด้วย). พระ ราชาทรงดำริตว่า "ความเป็นอยู่ของเรานั้นแหละเป็นลาภของเรา" จึง ตรัสว่า "ท่านจงจับสัตว์ทุกชนิดเร็ว." พวกมนุษย์ผู้ที่ได้รับสั่ง ก็จับ เอามากเกินประมาณ -------------------------------------------------- บาศิโกสาสังฆุตต จริงอยู่ พระธรรมสงฆาคาถากาว่า คำนี้ว่า ใบในโกสล- สงฆุตตว่า ก็โดยสมบันเทิน แก่พระเจ้าเสนาทิโกสลแล้ว, โออุตะ ๕๐๐ ลูกโก้ผู่ ๕๐๐ ลูก โคตัวเมีย ๕๐๐ และ ๕๐๐ ; ถูกนำเข้าไปหลังกแล้ว เพื่อประโยชน์ แก่อยู่, สัตว์เหล่านั้นเป็นได้ คือทาสดี, ทาสดีดี, คนใช้ดี, กรรมกร ดีดี, ย่อมมีเพื่อวิญญาณ, สัตว์เหล่านั้น, ถูกเขาคุมตัวอวยอาชญา ถูกภัยคุกคามแล้ว มิให้ซมด้วยน้ำตา ร้องไห้ กระทำบริการ (คำร่ำราว) อยู่." [พระนางมัลลิกากรงเปลื่้องทุกข์ของสัตว์] มหาชน คำร่ำรวยอยู่เพื่อประโยชน์แก่หมู่เจตของตน ๆ ได้ ๑. ส. ส. ๑๕/๑๐๘
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More