พระธัมมปฏิฐิ: การสนทนาเกี่ยวกับธรรมะและการฟังธรรม พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 63
หน้าที่ 63 / 288

สรุปเนื้อหา

บทสนทนาเกี่ยวกับพระธัมมปฏิฐิและการฟังธรรม โดยอุบลสิกาที่มีความรู้สึกอับอายหลังจากฟังพระศาสดาว กล่าวถึงความสำคัญของการฟังธรรมและไม่ควรรบกวนจิตใจในการฟัง เพื่อให้สามารถเข้าถึงความฟังซ่านที่แท้จริงได้ นอกจากนี้ยังมีการสอนเกี่ยวกับการใช้คำพูดอย่างระมัดระวังในการสื่อสารถึงธรรมะ ความเข้าใจในแนวทางที่ถูกต้อง มีการกล่าวถึงการศึกษาและความรู้ของอุบลสิกาในการฟังธรรมซึ่งเป็นประโยชน์ในการพัฒนาจิตใจ.

หัวข้อประเด็น

-การฟังธรรม
-บทสนทนาอุบลสิกา
-พระศาสดาว
-การฟื้นฟูจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ - พระธัมมปฏิฐิถูกถามแปลภาค ๑ หน้าที่ 61 [อุบลสิกา ฟังธรรมแล้วถูกอาจชีวิตคา] พระศาสดาว ทรงเริ่มธรรมกสำหรับอนโมน่า ด้วยพระสุ- เสียงอันไพเราะ. อุบลสิกา ฟังธรรมลงให้สาธุรวมว่า "สารู สารู." อาจุุสิกาอยู่ห้องหลังนั้นแล้ว ได้ยินเสียงให้สาธุรวมแล้ว ฟังธรรมอยู่ ไม่อาจจะอดทนอยู่ได้ จึงออกไป ด้วยคิดว่า "นี่แหละ นางไม่เป็นของเรา" ดังนี้แล้ว คำอุบลสิกาและพระศาสดาว โดยประกาศต่าง ๆ ว่า "อีกพกณิ มีเป็นคนจิได้ๆ. มิงกงทำ ลักษณะนี้แก่สมะเน้นเดิม" ดังนี้เป็นต้น หนนี้ไปแล้ว. [อุบลสิกา มิตติฟังซ่าน] อุบลสิกา ละอาย เพราะอ้อมคำของอาชีพนั้น ไม่อาจจะส่งจิต ซึ่งถึงความฟังซ่าน ไปตามกระแสแห่งเขาได้. ลำดับนั้น พระศาสดาว ครุสSimilarly, "อุบลสิกา เธอไม่อาจ ทำจิตให้ไปตาม (แนว) เทานาได้หรือ?" อุบลสิกา. พระเจ้าค่ะ เพราะอ้อมคำของอาชีพนี้ จิตของ ข้าพระองค์ เข้าถึงความฟังซ่านเสียแล้ว. พระศาสดาว ครุสว่า "ไม่ควรจะถึงลักลี่อ้อมคำที่ชนผู้ไม่เสมอ ภาคนี้เห็นปานนี้กล่าว การไม่คำนี้ถึงล้อคำเห็นปานนี้แล้ว ตรวจ ดูดีๆทำแล้วจะมีได้ทำของตนเท่านั้นจึงควร" ดังนี้แล้ว คำพระ ครุสว่า:- ๑. อบุณสูตรตุ๊ด แปลตามศัพท์ว่า สิ่งความเป็นอย่างอื่น.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More