พระฉัณบัณฑิตฉบับแปล ภาค ๓ - หน้าที่ ๑๙๔ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 196
หน้าที่ 196 / 288

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้พระพุทธเจ้าตรัสเกี่ยวกับการเข้าใจธรรมและการเรียนรู้ว่าผู้ที่นั่งใกล้บัลลังก์แม้เพียงคนเดียวก็สามารถรู้แจ้งธรรมได้ในทันที เช่นเดียวกับการมีความรู้ที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับธรรมชาติของชีวิต การประกอบด้วยความเพียรพยายามในการศึกษาธรรมเป็นสิ่งสำคัญในเส้นทางแห่งการเข้าใจ และการที่สติปัญญาถูกนำไปใช้ในทางที่ถูกต้องทำให้เกิดความรู้แจ้งอย่างแท้จริง ในที่สุดมีการเล่าถึงพระอรหัตและภิกษุที่ได้รับการสอนไว้อย่างชัดเจน.

หัวข้อประเด็น

-การแสดงธรรม
-ความรู้แจ้ง
-ปัญญา
-การบำเพ็ญ
-ประโยชน์ของการศึกษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระฉัณบัณฑิตฉบับแปล ภาค ๓ - หน้าที่ ๑๙๔ ดังนี้แล้ว เมือ่ทรงแสดงธรรม จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :- "ถ้าภญฺชุน เข้าไปนั่งใกล้บัลลังก์แม้ครูเดียว, เขาย่อมรู้แจ้งธรรมได้บพลัน, เหมือนฉันรู้สส แสดงนั่น."" [แสดงอรรถ] พึงทราบเนื้อความแห่งพระคาถานี้ว่า :- "ถ้าภญฺชุน คือว่า บุรุษผู้บำบิต เข้ไปนั่งใกล้บัลลังก์อีกคน แม้ครูเดียว, เขาเรียนอยู่ สอบสวนอยู่ ในสถานบัลลังก์นี้ ซึ่งว่า ย่อมรู้แจ้งปรินิธรรมหโดยพลันทีเดียว, แต่หนี้ เขาให้บันทึกบอก คำมุ่งฐานแล้ว เพียรพยายามอยู่ในอุปฏิทิน, เป็นบุตรติย่อมรู้แจ้ง แม้โลภุทธรรมพลันทิเบ็ด, เหมือนบุรุษผู้มีวิชาหาประสาทอันโรคไม่ กำจัดแล้ว พอวางอาทลงที่ปลายตินเพื่อจะรู้สัยอรสุรัส อันต่างด้วย รสเต่มเป็นต้นฉะนั้นนั่น." ในกาลจบเทสนา ภิกษุเป็นอันมาก บรรดาพระอรหัตแล้ว ดังนี้ และ. เรื่องภิกษาชาวเมืองป่าเจา งบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More