ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - พระธัมม์ปทัฎฐกถา ภาค ๑ - หน้า 246
พระปิยเจตนาภูมิใจว่า "พระปิยเจตนาพเจ้าคงนี้" เมื่อเข้าไปเพื่อบิณฑบาต พบพระที่ระหว่างประตู เราเมื่อจะทดลองศิลปของตน จึงประหายพระปิยเจตนาพเจ้ารนี้" พวกมนุษย์ กล่าวว่าจะ "ได้ย่าว คนชั่วชี ประหายพระปิยเจตนาพเจ้า พวกท่านจงขำๆ" โบยให้บุรุษนั้นถึงความสิ้นชีวิตในวันนั้นเอง บูรณนั้น เกิดในอเวจีใหม่แล้ว จนแผ่นดินใหญ่หนาขึ้นโยชน์หนึ่ง บังเกิดเป็นสัญญู-ปรตู ที่ออกญากิจก็ดูถูก คำรำคาญเหลืออยู่แล้ว
[พระศาสดาตรัสสอนวกกิญญู]
พระศาสดา ครั้นตรัสบรรพกรรมนี้ของเปรตนั้นแล้ว จึงตรัสว่า "ภิญญ์ทั้งหลาย ศิลปะหรือความเป็นอิสระ เมื่อเกิดในแก่ว่าคน พาณ ย้อนเกิดขึ้นเพื่อความฉิบหาย ด้วยว่า คนพาลได้ศิลปะหรือ ความเป็นอิสระ แล้ว ย่อมทำความฉิบหายแก่ตน ถ่ายเดียว" ดังนี้แล้ว เมื่อจะทรงสืบอนุสรณ์แสดงธรรม จึงตรัสพระคาถานี้ว่าน:- "ความรู้ย่อมเกิดแก่คนพาล เพียงเพื่อความฉิบหาย เท่านั้น ความรู้นัน ยังหัวคิดของเขาให้ตกไป ย่อมาม่วนส่วนลูกกรรมของคนพาลเสีย."
[[เก้อรรถ]
ศัพท์ว่า อาวุโท ในคำนันเป็นนิยาย ในอรรถคือความกำหนดตั้งแต่ปาน ภาวะคือความรู้ ชื่อว่า อตฺต. บุคคลยังรู้สึกจะ แม้ได้ หรือบุคคลดำรงอยู่ในความเป็นใหญ่ได้ หรือด้วยความถึงพร้อมด้วยทุก อันชนะ ย่อมรู้จัก คือปรากฏ ได้แก่เป็นผู้ใดดัง,