การตีความบาปกรรมในพระธัมปทปัณ์ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 241
หน้าที่ 241 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการตีความบาปกรรมในพระธัมปทปัณ์ ซึ่งนำเสนอการเปรียบเทียบระหว่างน้ำนมและบาปกรรมที่กำลังทำอยู่ เพื่อชี้ให้เห็นว่าการกระทำบาปกรรมไม่ให้ผลทันที และต้องรอจนกว่าจะถึงเวลาที่เหมาะสม เช่นเดียวกับถ่านไฟที่ไม่ได้เผาไหม้ในขณะนั้น แสดงให้เห็นถึงการรอคอยผลของกรรมที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยรายละเอียดเกี่ยวกับอุปมานี้ช่วยให้เราเข้าใจในธรรมะและการปฏิบัติตนต่อบาปกรรมได้ดีขึ้น. สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-บาปกรรมและผลกรรม
-การเปรียบเทียบในธรรมะ
-การตีความคำสอนในพระธัมปทปัณ์
-การทำความเข้าใจเกี่ยวกับการกระทำ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธัมปทปัณ์ถูกจดบันทึกแปลภาค ๑ - หน้าที่ 239 [แก่อรรถ] บรรดาบทเหล่านั้น กล่าวว่า สุขซูรี ความว่า น้ำงามซึ่งไหลออกจากนมของแม่โคนมในขณะนั้นนั้นแส ยิ่งๆ ยอมไม่เปลี่ยน คืออ่อนไม่แปรไป พระศาสดา ตรัสสอนอธิบายไว้อย่างนี้ว่า "น้ำนมที่เขารับในขนะนั้น ย่อมไม่เปลี่ยน คือไม่แปร ได้แก่มะปลดในขณะนั้นนั่นแล แต่ที่เราคิดไว้ในภาชนะใด ก็อ่อนไม่จะปลอดี ตราบเท่าที่ยังไม่ได้ใส่ของเปรี้ยวมีรังเป็นต้น ลงในภาชนะนั้น คือ ตราบเท่าที่ยังไม่ถึงภาชนะของเปรี้ยว มีภาชนะนั้นสมเป็นต้น ย่อมละในภายหลังฉันใด แม้บาปกรรมที่บุคคลกำลังทำ ก็อย่ำไม่ให้ผล ฉันนั้นเหมือนกัน ถ้าบาปกรรมพึงให้ผล (ในขณะทำ), ใครๆไม่พึงอาเพท่าทำบาปกรรมได้ ก็บังเกิดทั้งหลายที่มันเกิดด้วยกาย เอ็นดื้อ รออยู่เพียงใด ; ขันเหร่านั้น ย่อมรบาดบุคคลนั้นไว้ได้เพียงนั้น เมื่อฉันททั้งหลายเกิดในอาย เพราะความแตกแหงกันนี้ บาปกรรมย่อมให้ผล,gเมื่อให้ผล สื่อ่ว่าบอกตามผะพลาญคุณพอลา" ถามว่า "เหตุนะอะไร?" แก้วว่า "เหมือนไฟนกถากปลไว้." อธิบายว่า เหมือนอย่างว่า ถ่านไฟปราศจากเปลวไฟ อันเถ้า กลอบไว้ แม้คนเหยียบแล้วก็ยังไม่ไหม้ก่อน เพราะถ่านยังปิดไว้ แต่ยังให้ร้อนแล้ว ย่อมใหม่ไปจนมันสมอง ด้วยสามารถใหม่อวัยวะมีนังเป็นต้นฉันใด ; แม้บาปกรรมก็คันนั้นเหมือนกัน เป็นบาปกรรมอันผู้ใดกระทำไว้ ย่อมตามเผาผู้้นั้น ซึ่งเป็นพาล เกิดแล้วในอาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More