พระอุ้มปุฏิปันหยัติภาค ๑ - หน้าที่ 69 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 71
หน้าที่ 71 / 288

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้มีการอภิปรายเกี่ยวกับผลของการใช้วาจาสุภาพและการทำความดี โดยเปรียบเปรยกับดอกไม้ที่มีความงามแต่ไร้กลิ่น จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ตั้งใจทำความดี รวมถึงการปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธองค์ซึ่งกล่าวถึงความสำคัญของการใช้วาจาและการไม่ตั้งใจที่ดี การฟังและการปฏิบัติธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้เกิดผลในการพัฒนาจิตใจและได้รับผลจากการทำดี

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธงาม
-คุณธรรมจากคำสอน
-การใช้วาจาสุภาพ
-การทำความดี
-ผลของการปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอุ้มปุฏิปันหยัติภาค ๑ - หน้าที่ 69 แก่ผูไม่ทออยู่ (ส่วน) ดอกไม้จันทร์งาม มีสี พร้อมด้วยกลิ่น (หอม) แม้มันใจ, วาจาสุภาพ ถ้านั้น ย่อมมีผลแก้ผูทำดีอยู่! [แก้รอรถ] บรรดาบานเหล่านั้น บทว่า รุจิ คือองาม. บทว่า อุณหภูมิ คือ บริบทด้วยสีและทรวดทรง. บทว่า อนุรักษ์ คือ ไร้กลิ่นมีดอกหอมไก่ ดอกรวกนี้และดอกซ้อนพญาเป็นต้นเป็น ประเภท. บทพระคาถาว่า เอว็ สุญิตตา วาจา ความว่า พระพุทธพจน์ คือ ปิติ ๑ ชื่อว่าจาตุสุขิต. พระพุทธองนั่น เหมือนดอกไม้สมบูรณ์ด้วยสีและทรวดทรง (แต่) ไม่มีกลิ่น (หอม). เหมือนอย่างว่า ดอกไม้ไม่มีกลิ่น (หอม), กลิ่น (หอม) ย่อมไม่ แหม่ไป (คือไม่บอไป) ในสรีระของผู้ที่ตรงดอกไม้ไม่มีไม่มีกลิ่นนั่น ฉันใด,แม้พระพุทธพจน์ ก็ฉันนั้น ย่อมไม่มากลิ่นคือการฟัง กลิ่นคือการถาาว และกลิ่นคือการปฏิบัติธรรมให้ เชื่อว่าขอไม่มีผล แก่ผู้ (ซึ่ง) ไม่ตั้งใจเปรยพระพุทธพจน์นั่นโดยเอื้อเฟือ ด้วยก็ ทั้งหลายก็มีฟังเป็นต้น, ชื่อว่าไม่ทำก็มีอธิษฐานว่าทำในพระพุทธนั่น; เพราะเหตุนี้ พระศาสดาจึงได้ตรัสว่า "วาจาสุญิตตา ฉันนั้น ย่อมไม่มีผลแก้ผูไม่ทออยู่." บทว่า สญุธฺ ได้แก้ ดอกจำปาและบัวเขียวเป็นต้นเป็น ประเภท. บทว่า เอว็ เป็นต้น ความว่า กลิ่น (หอม) ย่อม ๑. คุณธรณ์ ดำพันธุ์สนามหลวง พ.ศ. ๒๔๙๘ ใบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More