พระจัมปาทักษิณ - ประวัติและการตั้งชื่อพระภูมิ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 22
หน้าที่ 22 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้พูดถึงการตั้งชื่อพระภูมิว่า 'วุตฑกะ' โดยพระราชา พร้อมกับความสัมพันธ์ระหว่างพระภูมิกับนางจัมปาทักษิณและบทบาทของพระมารดา เนื้อหายังกล่าวถึงชีวิตในวัยเด็กของพระกุมารและเครื่องบำรุงที่เขาได้รับในวัย 3 ขวบ รวมถึงการสื่อสารกับมารดาเกี่ยวกับของเล่นจากตระกูลอื่น เนื้อหาเหล่านี้มีความสำคัญในการสื่อถึงบทบาทและการเจริญเติบโตในครอบครัวของพระกุมาร

หัวข้อประเด็น

-การตั้งชื่อพระภูมิ
-บทบาทของนางจัมปาทักษิณ
-ความสัมพันธ์ในครอบครัว
-วัยเด็กของพระกุมาร
-ความสำคัญของการเรียนรู้และเครื่องบำรุง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระจัมปาทักษิณแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 20 "ขัตติยา แม้ไม่ประสูติพระโอรส ก็ได้รับครองชั้นทั้งหมด, ก็บังเกิด นางจึงเป็นที่โปรปรานิ่งของพระราชา." อำมาตย์หญิงฟังว่า "วัดลึกา" ไม่ค่อยชัด เข้าใจว่า "วุตฑกะ" คริบเข้าเฝ้าพระราชาแล้ว ก็กราบทูลว่า "ขอเดชะ ขอพระองค์จงทรงขนานพระนามพระภูมิว่าว วิตฑกะ" เถิด." พระราชาทรงดำริว่า "คำว่า วุตฑกะ จักเป็นชื่อประจำ ตระกูลเก่าของเรา" จึงได้ทรงนามพระนามว่า "วุตฑกะ." [วุตฑกะเสด็จเยี่ยมค่ายสกุณ] ต่อมา พระราชาได้พระราชทานตำแหน่งเสนาบดีวีรวุฑก- กุมารนั้น ในเวลาที่ขึ้นทรงพระเยาว์นั่นแหละ ด้วยตั้งพระว่าว่า "จะ ทำให้เป็นที่โปรปรานของพระศลดา" วุตฑกุญเป็นนัทรงโดยเครื่องบำรุงสำหรับกุมาร ใน เวลามีพระชนม์ ๓ ขวบ ทรงเห็นของเล่นต่าง ๆ มีรุ้งช้างและรูปม้า เป็นต้น ของกุมารเหล่าอื่น อันบุคคลมามากจากตระกูลยอง จึงถม พระมารดาว่า "เจ้าแม่ ใคร ๆ เขานำธนูมาถามจากตระกูลยอง ยายเพื่อพวกกุมารเหล่าอื่น, พระญาติไปร่ ๆ ย่อมไม่ส่งธนูารอะไร ๆ มาเพื่อหมอฉัน (บ้างเลย), เจ้าแม่ไม่มีพระชนม์พระชนกหรือ?" ที่นั่น พระมารดาจึงลงว่าสนั่นว่า "พ่อ เจ้าทะนเป็นยาย ของเจ้ามือ, แต่ย่าอยู่ไกล, เหตุนี้ พวกท่าน (จิง) มิได้ส่งเครื่อง บรรณาการอะไร ๆ มาเพื่อเจ้า." ในเวลามีพระชนม์ครบ ๑๖ ปี พระภูมิจึงทูลพระมารดาดอีก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More