ความหมายและผลของความโลภในชีวิต พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 188
หน้าที่ 188 / 288

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความรู้เกี่ยวกับความโลภในบุตรและทรัพย์สินที่มีในชีวิตของคนพาลตามพระพุทธศาสนา โดยชี้ให้เห็นถึงความทุกข์และเดือดร้อนที่มาจากการยึดติดในทรัพย์และบุตร รวมถึงอาการต่างๆ ของคนพาลที่พยายามประสบความสำเร็จในชีวิตผ่านทรัพย์สินที่แท้จริง มุ่งเน้นบริบทการสอนของพระศาสดาต่อมูลสิริเศรษฐี.

หัวข้อประเด็น

-ความโลภในชีวิต
-ความทุกข์จากการยึดติด
-คำสอนในพระพุทธศาสนา
-การทำกรรมและความพยายาม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- พระบิสมาประมา- พระบิสมาประมาณแปลภาค ๓- หน้าที่ 186 ของท่าน" แล้วยังท่านนั้นให้บอก (มุมทรัพย์) ด้วยพระดำรัสว่า "อนานนเศริย" ท่านจงบอกมุมทรัพย์ใหญ่ ๕ แห่งแก่บุตรของท่าน" แล้วราชมงคลสิริเศรษฐีมิใช่ชื่อของนั้นให้ชื่อแล้ว มูลสิริเศรษฐีนั้น ได้ดังพระศาสดาเป็นสรณะแล้ว พระศาสดามืออารงแสดงธรรม แก่มูลสิริเศรษฐีนั้น จิงรัศพระคตนีวา : - "คนพาล ย่อมเดือดร้อนว่า 'บุตรทั้งหลายของเรา มีอยู่ ทรัพย์ (ของเรา) มีอยู่ , ตนเอง ย่อม ไม่มีแต่บุตรทั้งหลายจักมีแต่ไหน ? ทรัพย์ จับมีแต่ไหน ?" [[แสดงความคิดเห็น]] พึงทราบนี้อความแห่งกานั้นว่า :- "คนพาลย่อมเดือดร้อนด้วยความอยากในบุตร และด้วยความ อยากในทรัพย์ว่า 'บุตรทั้งหลายของเรามีอยู่, ทรัพย์ของเรามีอยู่,' คือ ย่อมลำบาก ย่อมถึงทุกข์; คือ ย่อมเดือดร้อน "บุตรทั้งหลายของ เรา จนหยาหลายแล้ว," ย่อมเดือดร้อนว่า "อิจฉายอยู่," ย่อมเดือดร้อนว่า "จักผายหาย." เมื่อในทรัพย์มิ่นนี้เหมือนกัน. คนพาลย่อมเดือดร้อน ด้วยอาการ ๖ อย่าง ด้วยประการฉะนี้, คนพาลแม่พยายามอยู่ในที่ ทั้งหลาย มีทางบกและทางน้ำเป็นต้น ทั้งกลางคืนและกลางวัน โดยประ- การต่าง ๆ ด้วยคำว่า "เราเห็นเสงบุรุษทั้งหลาย" ถือว่าผ่อนเดือดร้อน, แม่ทำกรรมทั้งหลายก็การทำและการค้าขายเป็นต้น ด้วยคำว่า "เรา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More