พระธรรมเทศนาเกี่ยวกับอุบาสก พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 66
หน้าที่ 66 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับพระศาสดาที่ตรัสธรรมเทศนาแก่บรรดาอุบาสก โดยเฉพาะอุบาสกชื่อฉัตตปาณิ ซึ่งเป็นผู้ทรงพระไตรปิฎกและรักษาอุโบสถ แต่ช้าตรัสไม่ไปบำเพ็ญบารมี พร้อมกับการเปรียบเทียบกับการประพฤติพรหมจรรย์ของอุบาสกอื่นๆ รวมถึงการเข้าไปรับฟังธรรมจากพระศาสดาในเวลานั้น ผู้ที่เป็นอนาคามีและการรักษาศีลอย่างเคร่งครัด จึงมีบทบาทในพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-อุบาสกในพระพุทธศาสนา
-การปฏิบัติธรรม
-ความสำคัญของศีล
-การบำเพ็ญบารมี
-การฟังธรรมจากพระศาสดา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในอาณิสงค์ ตรงปรารภติปติบัติ อุบาสก ตรัสพระธรรมเทศนาว่า "ยอดี จีรัส ปุโมน" เป็นต้น. [ฉัตตปาณิเข้าในพระศาสดา] ความผิดหว่า ในบรรลุธรรมวัดดี ยังอุบาสก (คนหนึ่ง) ชื่อ ฉัตตปาณิ เป็นผู้ทรงพระไตรปิฎก เป็นอนาคามี อุบาสกนั้น เป็นผู้รักษาอุโบสถ แต่ช้าตรัส ไม่ไปบำเพ็ญบารมีของพระศาสดา. จึงอยู่ ชื่อว่า อุบาสกธรรม หมิแกล้อริยสาวกผู้เป็นอนาคามีทั้งหลาย ด้วย สามารถแห่งการสมาทานไม่ พรหมจรรย์และการบูรณภัตครั้งเดียว ของอรยสาวกผู้เป็นอนาคามีเหล่านั้น มาแล้วโดยธรรมนันแหละ เพราะ เหตุนี้นั่นแหละ พระผู้พระภาคจึงตรัสว่า "มหาปิฎก นางชำหวอ ชื่อภูมิภา และเป็นผู้บริโภคภาคตรั้งเดียว มีปรกติประพฤติพรหมจรรย์ มีศีล มีอายธรรม." โดยปรกติทีเดียว ท่านอนาคามิทั้งหลาย เป็น ผู้บริโภคตรั้งเดียว และมีปรกติประพฤติพรหมจรรย์อย่างนั่น. อุบาสก แม่มัน ก็เป็นรู้ว่าอุโบสถว่านั่นเหมือนกัน เข้าไปฝ่พระศาสดา ถวายนั่งคงแล้วนั่งฟังธรรมภท. [ฉัตตปาณิไม่อุตรับเสด็จพระเจ้าปเสนทิกนกศ] ในสมัยนั้น พระเจ้าปเสนทิกนกศ ได้เสด็จไปสู่ที่บำรุงของพระ *พระมหาเทียบ ป. ธ. ๖. วัดบวรนิเวศวิหาร แปล. ๑. มูฏิการสูตร ม. ม. ๑๓/๑๓๕
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More