พระธรรมปิฎกฉบับแปล ภาค ๑ - หน้า 164 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 166
หน้าที่ 166 / 288

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ พระศาสดาได้ตรัสสอนเกี่ยวกับการทำบุญ และกรรมที่มนุษย์ได้กระทำ โดยจะอธิบายว่าการมีชีวิตอยู่ซ้ำซ้อนคืออะไร และการทำบาปส่งผลต่อชีวิตอย่างไร การใช้เสียงแห่งคำสอนนี้เพื่อสร้างความเข้าใจในธรรมได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเมื่อพูดถึงทุกข์ที่เกิดจากกรรมในอนาคต และความสำคัญของการทำบุญในชีวิตปัจจุบัน โดยสอนให้คนรู้จักที่จะทำความดีเพื่อลดทุกข์ในอนาคต.

หัวข้อประเด็น

-การทำบุญ
-กรรม
-การมีชีวิต
-คำสอนของพระศาสดา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปิฎกฉบับแปล ภาค ๑ - หน้า 164 พระศาสดา เมื่อจะทรงแสดงคาถาที่สัตว์วนรนั่น กล่าวไม่เต็ม ทำให้เต็ม จึงตรัสอย่างนี้ว่า :- "เรา ทั้งหลายเหล่าใด เมื่อโศกะทั้งหลาย มีอยู่ ไม่ได้อวยทาน ไม่ได้ทิ้งพึ่งเกดน, พวกเราล้วนนั้น จัดว่ามีชีวิตอยู่ซ้ำซ้อนแล้ว." ลำดับนั้น พระศาสดา ครับทรงประกาศเนื้อความแห่งคาถานี้ แก่พระราชาแล้ว จิตตรัสมาว่า "มหาบพิตร Sermที่ ๒, Sermที่ ๓. เสียงที่ ๔, พระองค์ได้ศับอย่างไร? เมื่อพระราชาทูลว่า "ซื้ออย่างนี้ พระเจ้าข้า" เมื่อจะทรงยังอรรถที่เหลือให้บรื่นจึงตรัส (คาถา) ว่า :- "เมื่อเราทั้งหลาย ถูกไฟไหม้อยู่ในนรก ครบ ๖ หมื่นปี โดยปราศจากวังวุ้น, เมื่อไร ที่สุดคือปรกฏ ? ผู้นุารุกทั้งหลาย ที่สุดอ้อมไม่มึน, ที่สุดจึ้งแต่ไหน? ที่สุดจะไม่ปรากฏ เพราะ ว่า กรรมชั่ว อันเรามีท่านได้กระทำไว้แล้ว ในกาลนั้น เรานั้นไปฆ่าที่นี่แล้ว ได้ก็นิด เป็นมนุษย์ อันเราและท่านได้กระทำไว้แล้ว" พระศาสดา ครั้นตรัสกล่าวอย่างนี้โดยลำดับ ประกาศเนื้อความ แล้ว จึงตรัสว่า "มหาบพิตร ชนทั้ง ๔ นั้น ปรารถนาจะกล่าวาคาถา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More