พระบรมโปเติฐภูมิแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 162 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 164
หน้าที่ 164 / 288

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้ พระศาสดาได้ตรัสกับพระราชาว่า ไม่จำเป็นต้องหวาดหวั่น โดยชี้ให้เห็นว่าสัตว์ทั้งหลายสามารถทำดีได้หากมีกรรมที่ดี ในขณะเดียวกันได้มีการพูดคุยระหว่างเศรษฐีในกรุงเทพฯ เกี่ยวกับการใช้ทรัพย์ที่มีอยู่อย่างชาญฉลาดและหาทางสร้างความดี เช่น การทำบุญและรักษาศีล พระพุทธเจ้าทรงมองว่าในอดีตมนุษย์มีอายุยืนยาวและการสนทนานั้นก็เสนอให้ทุกคนมองเห็นถึงคุณค่าของการทำความดีเพื่อประโยชน์ในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-พระศาสดาและกรรม
-การใช้ทรัพย์ให้เกิดประโยชน์
-บทสนทนาของเศรษฐีในกรุงเทพฯ
-ความหมายของการทำบุญ
-วิถีชีวิตของมนุษย์ในอดีต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- พระบรมโปเติฐภูมิแปล ภาค ๑- หน้าที่ 162 นั่น พระศาสดา ตรัสกับพระราชานั้นว่า "พระองค์อย่างทรงหวาด-หวั่นเลย มหาพิษ, อันตรายไม่มีแก่วิพระองค์, สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีกรรมมา เมื่อกระทำกุศลของตน ๆ ให้แจ้ง จึงกล่าวอย่างนี้." พระราชา ทูลว่า "กิริยามออะไร? อันสัตว์เหล่านั้นจะทำไว้ พระเจ้าข้า." [พระศาสดาทรงแสดงโทษปราบกิจกรรม] พระผู้มีพระภาค เมื่อจะทรงแสดงกรรมของสัตว์บรรล้นนั้น จึงตรัสว่า "ถ้ากรรมนั้น พระองค์จงทรงสตบ มาหาพิรษ" แล้ว ทรงนำอดีตนาม (ตรัส) ว่า:- "ในอดีตกาล เมื่อมนุษย์มีอายุ ๒ หมื่นปี พระผู้มีพระภาค พระนามว่า กัสสป อุบัติขึ้นในโลก เสด็จเที่ยวอาศัยไปกับพระ- จินฺตลภ ๒ หมื่น ได้ลังค์ถึงกรุงเทพฯ ชาวกรุงเทพฯ ๒ คนบ้าง ๓ คนบ้าง มากกว่าบ้าง รวมเป็นพวกเดียวกัน ยิ่งคัณดูทนให้ เป็นไปแล้ว. ในกาลนั้น ในกรุงเทพฯมีเศรษฐีผู้รับอรุณ ๔ คน มี สมบัติ ๔๐ โกกิ เป็นสุขกัน เศรษฐีบรรดานั้น ปรึกษากันว่า "ใน- เรือนของพวกเรามีทรัพย์มาก, พวกเราจะกระทำอะไรด้วยทรัพย์นั้น." เมื่อพระพุทธเจ้าเห็นปานนั้น เสด็จเทิวาริไปอยู่ บรรดาเศรษฐีบรรดาเหล่านั้น มีได้กล่าวว่า "พวกเราจักรวาญทาน จัก- กระทำบูชา จักรักษาศีล," คนหนึ่งก็กล่าวอย่างนี้ก่อนว่า "พวกเรา ดื่มสุราเพิ่ม เกี่ยวกับเนื้อที่มีสอาย จักเทียวไป ชีวิตนี้ของพวกเรา จักมีผล."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More