พระธรรมปิฎกฉบับแปล ภาค ๑ - ลาภลักษณะและจิตตฤกษ์บุญดี พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 261
หน้าที่ 261 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวกับพระธรรมปิฎกฉบับแปลฯ อธิบายถึงลาภลักษณะที่เกิดจากการคบประเทศใดโดยการบูชาศีลและความดี ในการพูดคุยของพระศาสดากับพระอานนท์เกี่ยวกับความสำคัญของศีลและจิตตฤกษ์บุญดี รวมถึงตัวอย่างจากประวัติที่ยกมาเพื่อแสดงถึงความสำคัญของจิตตฤกษ์ในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในช่วงที่มีพระพุทธเจ้าตรัสรู้

หัวข้อประเด็น

-ลาภลักษณะ
-จิตตฤกษ์บุญดี
-พระธรรมปิฎก
-ความดีและศีล
-พระอานนท์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปิฎกฉบับแปล ภาค ๑ หน้าที่ 259 คบ (ไป) ประเทศใด ๆ ลาภลักษณะ ย่อมเกิดแก่เขาในประเทศนั้น ๆ ที่เดียว ดังนี้แล้ว ตรัสพระคาถาในปกิณณฤคว่า :- "ผู้มีสัตย์ธรรมา สมบูรณ์ด้วยศีล เพียรพร้อมด้วยยศและโภค ย่อมบ คบ ประเทศใด ๆ ย่อมเป็นผู้อื่น เขาบูชาแล้ว ในประเทศนั้น ๆ ที่เดียว." กว่านี้ความแห่งพระคาถานั้น จักแจ้งในปกิณณฤควรนั้นแลง [บูรพธรรมของจิตตฤกษ์บุญดี] เมื่อพระศาสดา ตรัสอย่างนั้นแล้ว พระอานนทเถร จึงพูดถามบูรพธรรมของจิตตฤกษ์บุญดี ลำดับนั้น พระศาสดา เมื่อจะตรัสแก่พระอานนทเถร จึงตรัสว่า :- "อานนท์ จิตตฤกษ์บุญดีนี้ มีอิทธิฤทธิ์อันทำไว้ แทนบทมูลของพระผู้พระภาคพระนามว่า ปทุมตะ ทองที่ย่อไปเทวดา และมนุษย์สิบแสนกลาย ในกาลแห่งพระพุทธเจ้าทรงพระนามว่ากัสสป เกิดในสุปของพรานนี้ ถึงความเจริญแล้ว วันหนึ่ง เมื่อฝนตกอยู่ ก็อหกไปป่าบ่า เพื่อข้องการจะล่าเนื้อ ตรวจดูหมูเนื้ออยู่ เห็นภิษฐณูปนหนึ่ง นั่งคูู่พระระ ที่ซึ่งเป็นเองแห่งหนึ่ง จึงกล่าวว่า "พระผู้เป็นเจ้า รูปเดียว จันทนทำสมบราม เราจักนำอาหารมา เพื่อพระผู้เป็นเจ้ามานะ" ดังนี้แล้ว รับไปสู่เรือน ให้คนบึงเนื้อที่นำมามึงว่าเมื่ออาน ที่ตำแหน่งหนึ่ง ให้ข้าวที่ตำแหน่งหนึ่ง เห็นภิษฐณูที่วินามาทวาดพวกอื่น รับตราของภิษฐณูแม่นลานั้น มินดให้งเหนื่ออาสนะที่จัด 1. อตกปุฑฺฐาก เมืองที่บุคคลไม่ได้ทำ หมายความว่า เกิดเป็นเองตามธรรมชาติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More