การกระทำกรรมและผลที่ตามมา พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 205
หน้าที่ 205 / 288

สรุปเนื้อหา

บทสนทนาระหว่างพระศาสดาและพระราชาเกี่ยวกับการกระทำกรรมและผลที่ตามมา พระศาสดาอธิบายว่าการกระทำใดๆ ที่ส่งผลให้เดือดร้อนในภายหลังนั้นไม่ควรทำ การทำกรรมดีหรือไม่ดีจะส่งผลต่อชีวิตในอนาคต, กรรมที่ทำไว้จะเป็นต้นเหตุของความทุกข์ในภายหลัง คำสอนนี้เน้นให้บุคคลพิจารณาถึงผลลัพธ์ของการกระทำของตน

หัวข้อประเด็น

-กรรมและผลกรรม
-การสอนพระศาสดา
-การกระทำและผลกระทบ
-ความสำคัญของการเลือกกรรม
-การเรียนรู้จากคำสอน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - พระเริ่มบาปทัชถูกฉํลี่ย แปลก ภาค ๑ - หน้าที่ 203 ชวนนั้นไปยังสำนักงานพระศาสดาในเวลาขืน ทูลถามพระศาสดา ว่า "จังแต่พระผู้มีพระภาค พระองค์ได้เสด็จไปถึงในของชาวนานั้น กับพระอนุทเกรอแลหรือ ?" พระศาสดา ขอตวายพระพร มาหาพิศด. พระราชา. พระองค์ทอดพระเนตรเห็นอะไรในนานั้น ? พระศาสดา ถุงทรัพย์พันหนึ่ง มาหาพิศด. พระราชา ทอดพระเนตรเห็นแล้ว ได้รสอะไร ?" พระศาสดา คำขอนี้ มาหาพิศด. พระราชา พระเจ้าข้า ถ้าฉันนี้จงได้กระทำการอ้างบุคคล ผู้ซึ้งกับด้วยพระองค์แล้วไซร้ เขาก็ไม่ได้ชีวิต แต่เขากล่าวคำที่ พระองค์ตรัสแล้ว จงได้ชีวิต. [ไม่ควรทำกรรมที่ให้ผลเดือดร้อนในภายหลัง] พระศาสดา ทรงสับพระราชดำรัสนั้นแล้ว ตรัสว่า "ขอ ถวายพระพร มาหาพิศด, แม้อตามภาพกล่าวคำนี้ประมาณเท่านั้น นั่นเองแล้วก็ไป ความตามเดือดร้อนในภายหลัง ย่อมมีเพราะกระทำ กรรมใด กรรมนั้น ชื่อผู้บันทึกไม่พึงกระทำ" ดังนี้ เมื่อจะทรงรับ อนุสนธิแสดงธรรม จึงตรัสพระอาคเนย์ว่า :- "บุคคลกระทำกรรมใดแล้ว ย่อมเดือดร้อนใน ภายหลัง เป็นผู้มีหน้าม่วงด้วยน้ำตา ร้องไห้ เลยพลอยของกรรมเอง กรรมนัน อันบุคคล กระทำแล้ว ไม่ดีเลย."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More