มหาลิกุมารในศิลปะและราชประเพณี พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 3 หน้า 10
หน้าที่ 10 / 288

สรุปเนื้อหา

เรื่องราวในข้อความนี้เกี่ยวกับมหาลิกุมารที่แสดงศิลปะให้เจ้าจอจิและพวกเจ้าจอจิจึงได้ประทับใจในความอุตสาหะของพระองค์ ถึงแม้พระเนตรของพระองค์ได้แตกไปแล้ว พวกเจ้าจิจึงไม่ทอดทิ้งพระองค์ โดยถวายประดุิที่เก็บบำรุงให้. พันธุ์มหาลิกุมารฝึกฝนทักษะทางศิลปะอันสำคัญในการปกครอง ข้อความยังพูดถึงราชประเพณีและการคัดค้านการกระทำของพระองค์ที่อาจละทิ้งศิลปะเพื่อครองราชสมบัติ.

หัวข้อประเด็น

-มหาลิกุมาร
-ศิลปะ
-ราชประเพณี
-การฝึกฝน
-ความสัมพันธ์ในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอิฐปฏิรูปภาค 3 - หน้า 8 มหาลิกุมาร เพื่อจะทรงแสดงศิลปะแก่เจ้าจอจิจึงทั้งหลาย ก็ ทรงแสดงด้วยความอุตสาหะมาก. พระเนตรของพระองค์ได้แตกไป แล้ว. พวกเจ้าจิจึงปรึกษากันว่า "พูโฮ่เย่ อารยของพวก เรา ถึงความเสียพระเนตรแล้ว, พวกเราจะไม่ทอดทิ้งท่าน, ถักบำรุง ท่าน" ดังนี้แล้ว จึงได้ถวายประดุิ ด่านั่ง ซึ่งเก็บสวยไว้วานละแสน แก่มหาลิกุมารนั้น. พระองค์ทรงอาศัยประดุิ นั้น ให้โอรสของเจ้า ติ้วิ ๔๕๐ องค์ ทรงศึกษาศิลปะ อยู่แล้ว. (ฝ่าย) พันธุ์มหาลิกุมาร เมื่อพวกจะกุลมิลชารกว่ามว่า "ขอ พันธุ์มหาลิกุมารจงฟันไม้ไผ่นี้" ดังนี้แล้ว ได้กระทำโดยชื่นไปยังอากาศ (สูง) ถึง ๘๐ ศอก เอาดาบฟันมัดไม้ไผ่ ๖๐ ลำ ที่พวกเข้ามล่อย เอา ไม้ไฟ ๖๐ ลำใส่ที่เหล็กในท่ามกลางแล้ว ให้ถูกันตั้งไว้ (บน กระเด็น) ไปแล้ว, พันธุ์มหาลิกุมารนั้นได้ลงเสียงดัง "การี" ของที่เหล็ก ในมัุตสุดท้าย (จึง) ถามว่า "นี่อะไร?" ได้ยินว่าเอาชีงเหล็กใส่ใน ไม่ไผทุกมัดแล้ว ดังึงดำ ร้องให้พลางพูดว่า "บรรดาญาติและ เพื่อนของเราประมาณเทนี้ แม้แต่คนเดียว ซึ่งเป็นมิวีความสนุกา (ในวก) มิได้บอกเหตุนี้ (แก่เรา); ก็กล่าวว่า เราพึงรู้ไว้, พิง ฟืนไม่ได้เสียงหล็กดังขึ้นเลย" แล้วพูดแก่พระชนันและพระชนก ว่า "หมอมั่นจักฆ่าเจ้ามลละเหล่านี้มันทั้งหมดแล้วครองราชสมบัติ" อันพระชนันและพระชนกหามแล้ว โดยประกายต่าง ๆ เป็นต้นว่า "ลุงเอ๋ย นี้ เป็นราชประเพณี, เจ้าไม่ได้เพื่อทำอย่างนั้น" จิง ๑. คำว่า "ประตู" หมายความว่าหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ทางด้านหนึ่ง.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More