ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค- มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๙ หน้า ที่ 4
ด้วยเหตุนั้น ในอรรถกถา ท่านจึงกล่าวว่า "เจตนาเป็นเหตุ
บริจาคทาน อันมีวัณฎ ๑๐ มัจจุตเป็นต้น ซึ่งมีปัญญาเครื่องรู้เป็น
เบื้องหน้า เฉพาะบุคคลอื่น ชื่อว่าทาน อีกอย่างหนึ่ง ความไม่โลภ
อันประกอบกับเจตนานั้น ก็ชื่อว่าทาน."
[๔] บรรดาบทเหล่านั้น บางว่า สุทฺธิฺปุพพิกา ความว่า
มีสัมมาทิฏฐิไปในเบื้องหน้า จริงอยู่ สัมมาทิฏฐิอันเป็นไปโดยย่อ
ทานทีทายให้แล้วอิ่มผลดังนี้เป็นต้น ชื่อว่าปัญญาเครื่องรู้ในบ Jesus
สุทฺธิฺปุพพิกา นี้.
สัมมาทิฏฐิทําย่อมเดือยเท่านั้น เป็นผู้มีลักษณะว่าว่า "ทานทีทายากให้
แล้วอิ่มมิดผล" เชื่อว่า "ธรรมว่าว่าท่านเป็นความดี พุทธามินทิต
สรรเสริญ บัณฑิตบัณฑิตูให้" ย่อมให้ทานด้วยตนบ้าง ชนะ
ผู้อื่นในทานนั้นบ้าง มิจฉาทิฏฐิทําย่อมเป็นเช่นนั้นไม่ จริงอย่างนั้น
เจ้าลักษณ ชื่ออิตติ ผู้ลักผิดว่า "ทานที่ทายายให้แล้วอิ่มไม่มีผล"
กล่าวอย่างนี้ว่า "การบูชาทั้งหลาย มีอาเป็นที่สุด ทานอันคนชอบ
บัญญัติไว้" ดังนี้.
อรรถกถา-สามัญญลสูตร และ อรรถกถาทิฏฐิสุรุฑ ในขนบ-วรรณวว่า "บรรดาบทเหล่านี้ น บทว่า ภาณุฒา แปลว่า มีเจ้า
เป็นที่สุด อีอย่างหนึ่ง บาลีคืออย่างนี้เหมือนกัน บทว่า หุฏโย
ความว่า ทานที่ให ่ ต่างกันโดยเป็นสังสาระแถบกันเป็นต้น ทุกอย่าง
มีอาเป็นที่สุดนั้น อธิบายว่า ทานนั้นหาให้ผลอันจงไปจากความเป็น