การให้ทานในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 17
หน้าที่ 17 / 265

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายเกี่ยวกับหลักการและลักษณะของการให้ทานในพระพุทธศาสนา รวมถึงอานิสงส์ที่เกิดจากการทำดี เช่น การบริจาคที่ไม่ได้มาจากอำนาจของความกลัวหรือความรัก การรดสัตว์ส่งผลดีต่อผู้ให้ การทำทานในรูปแบบต่าง ๆ จะสร้างผลบุญอันสำคัญช่วยให้เกิดความสุขและผลประโยชน์ รวมทั้งพูดถึงอานิสงส์ของการทำทานที่ส่งผลต่ออายุและสภาพการดำรงชีวิตของผู้ให้และผู้รับ. ข้อมูลสามารถเข้าถึงได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

- หลักการให้ทาน
- อานิสงส์ของการให้ทาน
- ความสำคัญของการบริจาค
- การช่วยเหลือผู้อื่นในพระพุทธศาสนา
- แบบต่าง ๆ ของการทำทาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕๖ - มังคลัตถัปปิณนาแปล เล่ม ๓ หน้า ๑๗ พร้อมด้วยลักษณะเป็นต้น และด้วยอานาจอุปากระมีการได้น้ำมันและการเผาเป็นต้น ท่านนั้นไม่ทรงถือเอา เพราะไม่ประกอบด้วยลักษณะแห่งทาน จริงอยู่ กามิจ้วัดที่พึงให้ของตน ด้วยอำนาจความปรารถนาอันอกรุณาและบุชา ชื่อว่าทาน การบริจาควัดที่พึงให้ด้วยอำนาจความกลัว ความรัก และความปรารถนาสนับสนุนเป็นต้น หาซื่อว่าทานไม่ เพราะเป็นทานที่มีโทษ วัดกฏ (ของกิน) แม่เพียงคำครึ่งคำที่คอดให้แล้ว ก็ไม่ทรงถือเอา เพราะไม่สามารถใบอันให้ผลตามมุ้งหมาย เหตุวามที่ท่านทำที่พอเก่าว่าต้องการไม่บูรุ่นณ์ กษาทานใด บุคคลหวังเฉพาะผลโดยไม่ต้องเป็นต้นว่า บุญอันสำเร็จด้วยทานนี้แหละ จงเป็นไปเพื่อความเจริญประโยชน์สุขตาไป แล้วให้แก่รดสัตวัรจาร ให้มีสุขะสุขะเป็นต้น ชนิดใดชนิดหนึ่งซึ่งประสาเข้าแล้ว พอแก่ความต้องการ ท่านนั้น ทรงถือเอา ทานในสัตว์จิรฉาน. คริสจานทานนั้น ชื่อว่ามีอานิสงส์ ๑๐๐ เท่า เพราะให้อิสงส์ ๔๐๐ คือให้อายุใน ๑๐๐ อัตรา ให้วรรณะ ให้สุขะ ให้ผละ ให้ปฏิภูมินใน ๑๐๐ อัตรา พิสุทธนัยในทานแมงสูงขึ้นไปอย่างนั้น อึ่ง บุคคลมีความประสงค์ระงม คนนักปลา เป็นต้น ผู้เลี้ยงชีวิตด้วยการเม็ดมียตินสัตว์อื่น ชื่อว่าบุญชนผู้นั้น มีอานิสงส์พ้นเท่า. อึ่งบุตรผิวสีเหมือนผู้มีวิศาลไม่โอวด ไม่มีเมียา ไม่เม็ดเบียนสัตว์อื่น เลี้ยงชีวิตด้วยกสิกรรมหรือด้วยพาณิชกรรมโดยธรรมำเสมอชื่อว่าบุญผู้นี้. ท่านให้แก่ปุถุชนผู้ศีลนี้ มีอานิสงส์แสนเท่า. อึ่ง คำผู้นั้นได้อภิญญา ๕ อัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More