ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค๙ - มั่งคลิกที่ปืนเปล เล่ม ๓ - หน้าที่ 262
บทว่า รักษิณฺสม ได้แก่ เป็นปัจจัยแห่งความ. บทว่า ธรรมสม Attributes
ในสภาพทั้งหลาย. อธิบายว่า ในอิฏฐุธรรมน์ทั้งหลาย. นัยในบททั้งปวง
บันทึกพิฒารอย่างนี้. บทว่า อนุโมทติ คือ ย่อมไม่ละทดทะนง
ด้วยสามารถแห่งทิฐิ. แม้ในบทที่เหลือทั้งหลาย ก็มีนัยอันเหมือนกัน.
หลายบทว่า น จ ปน สมณวนเหตุปิ คูติ ควรม่า ภิกษุหละ
ความคิดเห็นของตนแล้ว โอนไปด้วยสามารถแห่งทิฐิของเขา แม้
เพราะถ้อยคำอันสมณะทั้งหลายผู้มีปกติคว่าซื่ออื่นเป็นเหตุไม่. แม้
ในที่นี้ พระผู้พระภาคก็ทรงประสงค์เอาพระนิพนธ์เหมือนกัน. "
[๒๕๖] ความไม่ประมาทนั่น เป็นธรรมมีอุปการะมากในธรรม
อันหาโทษไม่ได้ทั้งหลาย ย่อมนำคุณมีความไม่กลัวต่อผู้อื่นเป็นต้นมา
ให้แก่บุคคลผู้อื่นความไม่ประมาทนั้น ด้วยประการฉะนี้. เพราะ
เหตุนี้น่ะ ความไม่ประมาท จึ่งถือว่าเป็นมงคล. แม้นอรรถดกถาท่าน
หมายเอือความนี้แล จึงกล่าวว่า "ความไม่ประมาทนั้น ชื่อว่าเป็น
มงคล เพราะเป็นเหตุธรรุณธรรมมีประการต่าง ๆ หรือเพราะเป็น
เหตุให้บรรลุอุตตรธรรม" ดังนี้แล้ว แสดงบทแห่งพระสูตรว่า "เมื่อ
บุคคลไม่ประมาท เป็นผู้มีความเพียรเครื่องกลั่นกล้าไม่ให้ร้อน" และว่า
"ความไม่ประมาทเป็นทางมงคล" อย่างนี้เป็นต้น. บรรยายบทแห่ง
พระสูตรทั้ง ๒ นั้น สองบทว่า อุปปมุตตสฺ สาตาปิโต มาในพระ
สูตรหลายแห่ง อีคลายหนึ่ง สองบทนั้น พระผู้พระภาคตรัไว้ใน
วิตุตตสูตร* ใบปัญจกนิบาต อัฏฐิโตนี้ มาในพระ
สูตรหลายแห่ง. อีกอย่างหนึ่ง สองบทนั้น พระผู้พระภาคตรัไว้ใน
วิทุตตสูตร* ใบปัญจกนิบาต อัฏฐิโตว่า "เมื่ออุปคลไม่