มังคลัตถีที่เป็นเปล่า - เล่ม ๓ - หน้า 125 มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 125
หน้าที่ 125 / 265

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาอภิปรายเกี่ยวกับการปฏิบัติในวันอุโบสถ เช่น เดือน ๘ เดือน ๑๒ และเดือน ๔ ที่ได้รับความสำคัญ รวมถึงการบูชาตามคำอรรถกถาและบทบาทของวันอุโบสถในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา โดยมีการยกตัวอย่างจากอรรถกถาเวสสันดรชาดก และการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการดูแลโคในเรือน ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติธรรมกับวันสำคัญต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าสร้างขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-ปฏิปัณณิถือ
-วันอุโบสถ
-การปฏิบัติธรรม
-พระพุทธเจ้า
-อรรถกถา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มังคลัตถีที่เป็นเปล่า เล่ม ๓ - หน้า 125 ปฏิปัณณิถือ: อาจารย์อีกพวกหนึ่งกล่าวว่า "เดือน ๘ เดือน ๑๒ และเดือน ๔ เดือนเท่านั้น (ซื้อว่า ปฏิปัณณิถือ) อีกพวกหนึ่ง กล่าวว่าจะ ปฏิบัติละ ๔ วัน กล่าวคือ วัน ๑๓ วันค่า ๑ วัน ค่า และวัน ๕ ค่า ด้วยอานาจแห่งวันต้นและวันหลังแห่งวันโบสถ์ไปปฏิญ (ชื่อว่า ปฏิภุริปัญญ์) บันเทิิดชอบใจวิธีใจพิธีเอาว่านั้น ก็หรือว่า ผู้ใดบูญควรทำวิธี. [๐๖] ส่วนคำใดที่กล่าวไว้ในอรรถกถาคงมาฎกในอัฐิอิกนิบาตว่า "บูรณฺและพาะะกีดี ชนบิริยากดี ของเศรษฐนี้นั้น โดยที่สุดแม้นเลี้ยงโคในเรือนนั้น ๆ ทั้งหมด ย่อมเข้าถูมโบสถ์เดือนละ ๖ วัน" คำนั้น ท่านกล่าวหมายเอาถูมโบสถ์ที่ได้โดยกลอื่นอจาก พุทธกาล. นับฉะนั้น การบอกกล่าวว่าคือการไม่รับประทาน อาหารนั่นแหละ เขาเรียกกันว่า "อุโบสถ, ทาใช้อะไร: ไม่. จริง องค์ ๕ นั้น ย่อมหาได้ในสมที่พระพุทธเจ้าอุตส่ขึ้นเท่านั้น." [๑๐๐] ส่วนในอริกาังมลาภฉกนั้น ท่านกล่าวว่า "เดือนหนึ่ง มีอูณโมส ๖ วัน คือ ในอุปปิกน ๓ วัน คือ วันอวาสี วัน ๒ คำ วัน ๓ คำ, แม้ในกนิทัปปิยังก็ตาม วัน คือ เช่นเดียวกัน." แม้ในอรรถกถาเวสสันดรชาดก ท่านก็หมายเอาว่าอุโบสถนอก พุทธกาลนี้แหละ กล่าวไว้ว่า "พระมหาสัตว์นั้นทรงครองด้วยประเสริฐ เสด็จตรวจโรงทาน ๖ แห่ง เดือนละ ๖ ครั้ง." ก็ในอุโบสถตามมาฎกนนี้ แม้วันบรรมี ท่านก็อเทด้วยบทธ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More